กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาวง


“ บริโภคอาหารที่ปลอดภัยด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง ”

ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางอรพากลับขัน

ชื่อโครงการ บริโภคอาหารที่ปลอดภัยด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ที่อยู่ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L7931-2-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"บริโภคอาหารที่ปลอดภัยด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บริโภคอาหารที่ปลอดภัยด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง



บทคัดย่อ

โครงการ " บริโภคอาหารที่ปลอดภัยด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L7931-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปล่ียนเแปลงด้านเศณษฐกิจสังคมและความเจริญก้วหน้าทางเทคโนโลยีได้ส่งผลกระทบให้สังคมมีการเปล่ียนแปลงอย่างมากและรวดเร็วการศึกษาเป็นกระบวนการสำคัญในการพัฒนาคนให้เป็นสมาชิกที่ดี ของครอบครัวและชุมชนาสังคม และประเทศชาติมีความรู้ความสามารถ และดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขบนพื้นฐานของความเป็นไทยตามพระราชบัญญัติการศึกษษแห่งชาตพ.ศ.2542มาตรา 22ให้สถานศึกษาจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด การจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพนั้นพบว่าอาหารในการบริโภคมีส่วนสำคัญต่อสุขภาพอย่างมากปัจจุบันนักเรียนส่วนมากเลือกบริโภคอาหารสำเร็จรูปที่มีรูปลักษณ์สีสันน่ากินรสชาตออร่อยหาซื้อง่ายโดยไม่คำนึงถึงคุณภาพ และความปลอดภัยตามหลักโภชนาการ โรงเรียนวัดนาวงจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมาใช้บูรณาการในการจัดหาผลผลิตทั้งในและนอกโรงเรียนมาประกอบอาหารกลางวันเพื่อความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการเลือกบริโภคอาหาร โดยการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปลูกพืชผักใช้ประกอบอาหารกลางวัน เลี้ยงสัตว์ในครัวเรือน และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกินเอง 3.เพื่อให้นักเรียนได้นำผลผลิตจากการดำเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 4.เพื่อให้นักเรียนมีความปลอดภัยในการบริโภคอาหารกลางวันที่โรงเรียนและที่บ้าน 5.ลดโรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร โรคฟันผุ ที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง 6.ส่งเสริมแก้ปัญหาพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องให้กับนักเรียนต่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนทุกคนให้มีความรู้ความเข้าใจและเลืกบริโภคอาหารโดยมีทักษะในการดำเนินชีวิตตามแนวประชญาเศรษฐกิจพอเพียงร้อยละ90 2.นักเรียนได้นำผลิตผลจากการดำเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพีบงใช้อุปกรณ์และบริโภคในชีวิตประจำวันร้อยะ95 3.นักเรียนทุกคนได้บริโภคอย่างปลอดภัย ไร้สารพิษและลดโรคภัยอันตราย ร้อยะละ98 4.นักเรียนทุกคนมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องปลอดภัยโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงร้อยละ95


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน 1.นักเรียนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจ และเลือกบริโภคอาหารโดยมีทักษะในการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ร้อยละ  95 2.นักเรียนได้นำผลผลิตจากการดำเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงใช้อุปโภคและบริโภคในชีวิตประจำวัน ร้อยะ 92 3.นักเรียนทุกคนได้บริโภคอาหารปลอดภัย ไร้สารพิษาและลดโรคภัยอันตราย  ร้อยะ 95 4.นักเรีนรทุกคนมีพฤติกรรมบริโภคที่ถูกต้องปลอดภัยโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพิเพียง ร้อยละ  95

ค่าใช้จ่าย 1.ค่าหารหารกลางวันและเครื่องดื่ม  ในการฝึกอบรมโครงการ  จำนวน  175 คนๆละ 50 บาท  เป็นเงิน  8750 2.ค่าวัสดุอุปกรณ์  เป็นเงิน  1860  บาท 3.ค่าถ่ายเอกสารแลัวสดุในการจัดกิจกรรม  อย.น้อย  เป็นเงิน  1305  บาท 4.ค่าซื้อวัสดุอุปกณ์ทำน้ำหมักชีวภาพ  เป็นเงิน  200  บาท
รวม เป็นเงิน  12115  บาท  เบิกจ่าย  จากงบ 12000  บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการเลือกบริโภคอาหาร โดยการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปลูกพืชผักใช้ประกอบอาหารกลางวัน เลี้ยงสัตว์ในครัวเรือน และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกินเอง 3.เพื่อให้นักเรียนได้นำผลผลิตจากการดำเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 4.เพื่อให้นักเรียนมีความปลอดภัยในการบริโภคอาหารกลางวันที่โรงเรียนและที่บ้าน 5.ลดโรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร โรคฟันผุ ที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง 6.ส่งเสริมแก้ปัญหาพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องให้กับนักเรียนต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างปลอดภัย
200.00 175.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการเลือกบริโภคอาหาร โดยการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปลูกพืชผักใช้ประกอบอาหารกลางวัน เลี้ยงสัตว์ในครัวเรือน และนำผลผลิตมาประกอบอาหารกินเอง 3.เพื่อให้นักเรียนได้นำผลผลิตจากการดำเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 4.เพื่อให้นักเรียนมีความปลอดภัยในการบริโภคอาหารกลางวันที่โรงเรียนและที่บ้าน 5.ลดโรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร โรคฟันผุ ที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง 6.ส่งเสริมแก้ปัญหาพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องให้กับนักเรียนต่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


บริโภคอาหารที่ปลอดภัยด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L7931-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรพากลับขัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด