กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี ”

ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอาภรณ์สุริมานนท์

ชื่อโครงการ โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5221-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์ กับสุขภาพโดยรวมของร่างกาย หากสุขภาพช่องปากและฟันดี ก็ย่อมส่งผลต่อการมีสุขภาพร่างกายที่ดีตามมา ซึ่งปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นอีกปัญหาที่สำคัญที่ควรได้การส่งเสริม ป้องกันมากกว่าจะเน้นทางด้านการรักษาและฟื้นฟู ซึ่งใช้งบประมาณในการรักษาที่มากกว่า และปัญหาสุขภาพช่องปากของนักเรียนก็ต้องยิ่งดำเนินการ เนื่องจากเด็กนักเรียนมีฟันแท้ข้นมาในช่องปากผสมกับฟันน้ำนมถ้าหากมีอาการปวดฟันผู้ปกครองอาจไม่ทราบว่าเป็นฟันแท้หรือฟันน้ำนม แต่อย่างไรก็ตามหากนักเรียนมีปัญหาสุขภาพช่องปาก ก็จะส่งผลต่อร่างกาย และพัฒนาการด้านการเรียนรู้ ที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด และรำคาญ ไม่เหมาะที่จะเรียนรู้หรือเรียนไม่รู้เรื่องสุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์ กับสุขภาพโดยรวมของร่างกาย หากสุขภาพช่องปากและฟันดี ก็ย่อมส่งผลต่อการมีสุขภาพร่างกายที่ดีตามมา ซึ่งปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นอีกปัญหาที่สำคัญที่ควรได้การส่งเสริม ป้องกันมากกว่าจะเน้นทางด้านการรักษาและฟื้นฟู ซึ่งใช้งบประมาณในการรักษาที่มากกว่า และปัญหาสุขภาพช่องปากของนักเรียนก็ต้องยิ่งดำเนินการ เนื่องจากเด็กนักเรียนมีฟันแท้ข้นมาในช่องปากผสมกับฟันน้ำนมถ้าหากมีอาการปวดฟันผู้ปกครองอาจไม่ทราบว่าเป็นฟันแท้หรือฟันน้ำนม แต่อย่างไรก็ตามหากนักเรียนมีปัญหาสุขภาพช่องปาก ก็จะส่งผลต่อร่างกาย และพัฒนาการด้านการเรียนรู้ ที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด และรำคาญ ไม่เหมาะที่จะเรียนรู้หรือเรียนไม่รู้เรื่อง ผลการสํารวจสภาวะสุขภาพช่องปากในระดับประเทศ ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2555 พบว่าสถานการณ์การ เกิดโรคฟันผุในฟันแท้ของเด็กประถมศึกษา เป็นร้อยละ 52.3 ค่าเฉลี่ย ฟันผุถอน อุด (DMFT) มีแนวโน้ม ลดลงเป็น 1.3 ซี่ต่อคน จากเดิมที่คงที่มาตลอดที่ 1.5 ซี่ต่อคน ซึ่งความชุกของโรคมีปริมาณลดลงอย่าง ชัดเจนในเขตเมือง และเมื่อนํามาเปรียบเทียบกับผลการสํารวจครั้งที่ผ่านๆมาจะพบว่าสภาวะโรคฟันผุ ลดลงเล็กน้อย ส่วนสภาวะเหงือกอักเสบนั้นยังคงเป็นปัญหาแม้ว่าจะพบสภาวะเหงือกอักเสบลดลง จากร้อยละ 58.9 ในปี2550 เป็นร้อยละ 50.3 แต่เกือบครึ่งหนึ่ง(20.7)จะมีสภาวะเหงือกอักเสบโดยมี หินน้ำลายร่วมด้วย เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปาก ให้มีฟันแท้ไว้ใช้งานตลอดมีกิจกรรมต่างๆ ในการดูแลให้เด็กได้แปรงฟันให้สะอาดในเวลาที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการจัดการสิ่งแวดล้อมและปรับพฤติกรรมลดการบริโภคอาหารที่เป็นอันตรายต่อทันตสุขภาพสำหรับนักเรียนที่ฟันแท้ผุไปแล้วและสามารถรักษาด้วยการอุดฟันได้ บุคลากรทางทันตกรรมจะมีการลงพื้นที่หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ให้บริการในโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจรการตรวจสุขภาพช่องปากการให้สุขศึกษาบริการทันตกรรม(อุดฟันแท้ , ขูดหินน้ำลาย)การแปรงฟันที่ถูกวิธี และการติดตามประเมินผลเพื่อให้การรักษารวมทั้งการป้องกันฟันแท้ผุโดยการเคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึกที่โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอนได้เห็นความสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน จึงได้จัดทำโครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี ให้เด็กนักเรียนมีพัฒนาการสมวัยด้านทันตสุขภาพ คือ ลดภาวะสูญเสียฟันแท้ก่อนวัย และมีฟันแท้ ไว้ใช้งานได้นานที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียนชั้นอ1-ป6 ได้มีความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
  2. 2.เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก แก่เด็กนักเรียนชั้นอ.1-ป.6
  3. 3.เพื่อให้นักเรียนได้รับบริการทันตกรรม(เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก/อุดฟันแท้/ถอนฟัน) ในโรงเรียน และ สถานบริการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี สุ่มประเมินการแปรงฟันหลัง โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
  2. การตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียน โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
  3. ให้บริการทันตกรรม(เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก/อุดฟันแท้/ถอนฟัน) ในโรงเรียน และ สถานบริการ โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
  4. ติดตามผลการแปรงฟัน และคืนข้อมูลสรุปผลสภาวะสุขภาพช่องปาก ประจำปีการศึกษา2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 320
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 320
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนชั้นอ1-ป6 มีความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้นักเรียนชั้นอ1-ป6 ได้มีความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีความรู้ด้านทันสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00 100.00

 

2 2.เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก แก่เด็กนักเรียนชั้นอ.1-ป.6
ตัวชี้วัด : 2.นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00 95.63

 

3 3.เพื่อให้นักเรียนได้รับบริการทันตกรรม(เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก/อุดฟันแท้/ถอนฟัน) ในโรงเรียน และ สถานบริการ
ตัวชี้วัด : 3.1 นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพฟันได้รับการรักษาและส่งต่อร้อยละ 100 3.2 นักเรียนชั้นป.1ได้รับการป้องกันฟันแท้ซี่แรกผุ(เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก) ร้อยละ100
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 640 640
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 320 320
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 320 320
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนชั้นอ1-ป6 ได้มีความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี (2) 2.เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก แก่เด็กนักเรียนชั้นอ.1-ป.6 (3) 3.เพื่อให้นักเรียนได้รับบริการทันตกรรม(เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก/อุดฟันแท้/ถอนฟัน) ในโรงเรียน และ สถานบริการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี สุ่มประเมินการแปรงฟันหลัง  โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข (2) การตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียน โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข (3) ให้บริการทันตกรรม(เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก/อุดฟันแท้/ถอนฟัน) ในโรงเรียน และ สถานบริการ โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข (4) ติดตามผลการแปรงฟัน และคืนข้อมูลสรุปผลสภาวะสุขภาพช่องปาก ประจำปีการศึกษา2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาภรณ์สุริมานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด