กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”
ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5221-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,355.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิต เด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัย อย่างไรก็ตามจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันส่งผลให้เด็กได้รับการดูแลเอาใจใส่น้อยลง เด็กส่วนหนึ่งต้องมีปัญหาสุขภาพอนามัยซึ่งส่งผลเสียต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กในด้านสติปัญญาและความสามารถในการเรียนรู้ โรคฟันผุในเด็กเล็กนับเป็นปัญหาที่พบมาก อีกทั้งฟันผุในฟันน้ำนมมีการลุกลามถึงโพรงประสาทฟันได้รวดเร็วกว่าฟันแท้ เนื่องจากความหนาของเคลือบฟันและเนื้อฟันน้อยกว่าฟันแท้และฟันผุในระยะเริ่มแรกสามารถลุกลามเป็นรูผุได้ในเวลา ๖-๑๒ เดือนเด็กที่เริ่มมีฟันผุในอายุน้อยมีการลุกลามได้เร็วและเริ่มผุในช่วงขวบปีแรก อัตราการผุจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ ๑-๓ ปี จากรายงานการสำรวจทันตสุขภาพอำเภอระโนด กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) สภาวะฟันน้ำนมผุ ปีพ.ศ.2557 ร้อยละ 47.7 ปีพ.ศ.2558 ร้อยละ51.51 และปีพ.ศ.2559 ร้อยละ 68.23 จะเห็นได้ว่าอัตราการเกิดโรคฟันผุไม่มีแนวโน้มลดลงอย่างชัดเจน การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กปฐมวัย ต้องอาศัยความร่วมมือของผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากรสาธารณสุขหลายฝ่าย มาตรการทางวิชาการที่จะช่วยป้องกันการก่อตัวของเชื้อโรคและยังอาจหยุดหรือชะลอการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกได้ได้แก่ การแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์และลดการบริโภคน้ำตาลการใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทาร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ และการให้ทันตสุขศึกษา ซึ่งการสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กให้กับผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก จะช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพดังนั้น จึงได้จัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์เด็กเล็ก เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กได้เห็นความสำคัญต่อฟันน้ำนม และพฤติกรรมในการดูแลช่องปากที่ถูกต้องจะช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปีงบประมาณ๒๕60 ให้เด็กนักเรียนมีพัฒนาการสมวัยด้านทันตสุขภาพ คือส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุและยับยั้งการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและฝึกฝึกทักษะแก่ผู้ปกครอง ครูได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแก่เด็ก
  2. 2.เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
  3. 3. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนได้รับบริการทางทันตกรรมอุดฟันน้ำนม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและฝึกทักษะแก่ผู้ปกครอง ครูได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่เด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
  2. การตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียน โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
  3. ให้บริการทันตกรรมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อุดฟันน้ำนม โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
  4. ติดตามผลการแปรงฟัน และคืนข้อมูลสรุปผลสภาวะสุขภาพช่องปาก ประจำปีการศึกษา2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครอง ครูได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่เด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กเห็นถึงความสำคัญต่อฟันน้ำนม และพฤติกรรมในการดูแลช่องปากที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและฝึกฝึกทักษะแก่ผู้ปกครอง ครูได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแก่เด็ก
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครองเด็กได้รับการฝึกปฏิบัติสอนแปรงฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ70
0.00

 

2 2.เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : 2.เด็ก 3-5ปี ได้รับการตรวจ สุขภาพช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 3. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนได้รับบริการทางทันตกรรมอุดฟันน้ำนม
ตัวชี้วัด : 3.เด็ก3-5ปี ได้รับการรักษาที่ เหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและฝึกฝึกทักษะแก่ผู้ปกครอง ครูได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแก่เด็ก (2) 2.เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (3) 3. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนได้รับบริการทางทันตกรรมอุดฟันน้ำนม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและฝึกทักษะแก่ผู้ปกครอง ครูได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากแก่เด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข (2) การตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียน โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข (3) ให้บริการทันตกรรมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อุดฟันน้ำนม โดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข (4) ติดตามผลการแปรงฟัน และคืนข้อมูลสรุปผลสภาวะสุขภาพช่องปาก ประจำปีการศึกษา2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด