กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ


“ โครงการการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ ”

ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
เลขานุการกองทุนฯ

ชื่อโครงการ โครงการการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2536-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2536-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ้งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์การเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ ดังนั้นการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชน บุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่ง จึงเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้คระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพของคนให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจ สังคมและปัญญา เพราะฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตำบลโคกเคียน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปูยัให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ พร้อมคณะอนุกรรมการและคณะทำงาน
  2. 2. รับรองคณะติดตาม การดำเนินงานกองทุนฯ
  3. 3. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
  4. 4. จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์
  5. 5. ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา เครื่องคอมพิวเตอร์และอื่นๆ ฯลฯ
  6. 6. ค่าถ่ายเอกสาร, ค่าเข้าเล่มหนังสือ, ค่าส่งเอกสารและอื่นๆ ฯลฯ
  7. 7. จัดซื้อครุภัณฑ์
  8. 8. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหาร กองทุนฯ คณะอนุกรรมการและเจ้าหน้าที่
  9. 9. จัดทำป้ายไวนิล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 17

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถจ่ายค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนฯ และคณะอนุกรรมการ
    2. สามารถพัฒนาบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมการเบิกจ่ายเงินโครงการฯและรายงานสถานะการเงิน

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีมติเห็นด้วยเป็นเอกฉันท์

     

    17 20

    2. ประชุมการเบิกจ่ายเงินโครงการฯและรายงานสถานะการเงิน

    วันที่ 25 มกราคม 2560 เวลา 09.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อนุมัติโครงการ 6 โครงการ 1.โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย 2.โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3.โครงการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านชำผ่านมาตรฐาน 4.โครงการประกวดหนูน้อยฟันสวยตำบลปูโยะ 5.โครงการรวมพล วันอาสาสมัครสาธารณสุข ปี 2560 6.โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม

     

    17 19

    3. ประชุมการเบิกจ่ายเงินโครงการฯ และรายงานสถานะการเงิน

    วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ขอจัดซื้อ 3 อย่าง 1.โต๊ะคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 ตัว 2.เก้าอี้เอนกประสงค์ จำนวน 2 ตัวๆละ 1300 บาท 3.ชั้นไม้วางเอกสาร จำนวน 2 ตัวๆล 500 บาท

     

    17 19

    4. จัดซื้อโต๊ะคอมพิวเตอร์

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โต๊ะคอมพิวเตอร์  จำนวน 1 ตัว

     

    0 0

    5. จัดซื้อเก้าอี้เอนกประสงค์

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เก้าอี้เอนกประสงค์ จำนวน 2 ตัว

     

    0 0

    6. จัดซื้อชั้นไม้วางเอนกประสงค์

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชั้นไม้วางเอกสารแบบ 3 ช่อง จำนวน 2 ตัว

     

    0 0

    7. ประชุมเกี่ยวกับการดำเนินงานพร้อมรายงานสรุปผลและรายงานสถานะการเงินและการจัดทำแผนปฎิบัติการกองทุน ฯประจำปีงบประมาณ 2561

    วันที่ 29 สิงหาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีมติเห็นชอบแผนปฏิบัติการกองทุนๆประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

     

    17 20

    8. ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และอื่นๆ ฯลฯ

    วันที่ 26 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวน 3 รายการ  จำนวนเงิน 3,000 บาท ได้แก่ 1. ลง windows (คอมพิวเตอร์ชนิดตั้งโต๊ะ)  จำนวน 1 ตัว 2. ลง windows (คอมพิวเตอร์ชนิดพกพา โน๊ตบุ๊ค) จำนวน 1 ตัว 3. Mainboard จำนวน 1 ตัว

     

    0 0

    9. จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการฯ

    วันที่ 26 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวน 9 รายการ จำนวนเงิน 4,375 บาท ได้แก่ 1. คีย์บอร์ด  จำนวน 1 ตัว 2. เม้าส์ จำนวน 1 ตัว 3. USB HUB จำนวน 1 ตัว 4. แผ่น CD เปล่า  จำนวน 2 ตัว 5. แฮนดี้ไดร์ฟ 32 GB จำนวน 2 ตัว 6. แฮนดี้ไดร์ฟ 16 GB จำนวน 2 ตัว 7. แผ่นรองเม้าส์  จำนวน 2 ตัว 8. แผ่น DVD จำนวน 2 ตัว 9. ซองใส่ CD จำนวน 2 ตัว

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ พร้อมคณะอนุกรรมการและคณะทำงาน
    ตัวชี้วัด : - เพื่อพิจารณารับทราบ การดำเนินงานกองทุนฯ

     

    2 2. รับรองคณะติดตาม การดำเนินงานกองทุนฯ
    ตัวชี้วัด : - เพื่อรับรองคณะบุคคล

     

    3 3. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
    ตัวชี้วัด : - เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ

     

    4 4. จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์
    ตัวชี้วัด : - เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ

     

    5 5. ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา เครื่องคอมพิวเตอร์และอื่นๆ ฯลฯ
    ตัวชี้วัด : - เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ

     

    6 6. ค่าถ่ายเอกสาร, ค่าเข้าเล่มหนังสือ, ค่าส่งเอกสารและอื่นๆ ฯลฯ
    ตัวชี้วัด : - เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ

     

    7 7. จัดซื้อครุภัณฑ์
    ตัวชี้วัด : - เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ

     

    8 8. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหาร กองทุนฯ คณะอนุกรรมการและเจ้าหน้าที่
    ตัวชี้วัด : - เพื่อพัฒนาศักยภาพใน การบริหารจัดการให้มี ประสิทธิภาพ

     

    9 9. จัดทำป้ายไวนิล
    ตัวชี้วัด : - เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์และ ดำเนินการประชุมคณะกรรมการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 17
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 17

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ พร้อมคณะอนุกรรมการและคณะทำงาน (2) 2. รับรองคณะติดตาม การดำเนินงานกองทุนฯ (3) 3. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน (4) 4. จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์ (5) 5. ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา เครื่องคอมพิวเตอร์และอื่นๆ ฯลฯ (6) 6. ค่าถ่ายเอกสาร, ค่าเข้าเล่มหนังสือ, ค่าส่งเอกสารและอื่นๆ ฯลฯ (7) 7. จัดซื้อครุภัณฑ์ (8) 8. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหาร กองทุนฯ คณะอนุกรรมการและเจ้าหน้าที่ (9) 9. จัดทำป้ายไวนิล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2536-4-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เลขานุการกองทุนฯ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด