กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ


“ โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ ”

ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3066-01-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3066-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมของประชาชนเป็นอย่างมาก ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน และปัญหาโรคไม่ติดต่อที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพก็มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ชุมชนหรือท้องถิ่นจะเจริญก้าวหน้าด้วยดี ต้องมีการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนในท้องถิ่นอย่างทั่วถึงและต่อเนื่องในทุกๆด้าน เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา เทคโนโลยี และการดูแลสุขภาพ เป็นต้น การออกกำลังกายและการเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอเป็นกระบวนการหนึ่งที่จะสามารถช่วยพัฒนาคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะช่วยพัฒนาให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและสมบูรณ์ สุขภาพจิตดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และส่งผลให้ดำเนินชีวิตอย่างราบรื่นและมีความสุข จากสถานการณ์โรคปัจจุบัน แสดงให้เห็นว่าความครอบคลุมในการจัดบริการยังไม่ครบถ้วนเพียงพอ จึงไม่สามารถลดปัญหาจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อได้ เพราะรูปแบบการให้บริการแบบตั้งรับที่สถานบริการอย่างเดียว มองผู้ป่วยเป็นเพียงผู้มารับบริการขาดความละเอียดอ่อนในมิติรอบด้านทำให้ไม่ทราบที่มาของพฤติกรรมส่วนที่เป็นตัวตน และความนึกคิดของผู้ป่วย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจึงเป็นไปได้ยากและไม่ยั่งยืนหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ระบบบริการน่าจะไม่เพียงพอ การพัฒนาระบบบริการส่งเสริมสุขภาพโดยทีมบุคคลากรสาธารณสุขให้บริการเยี่ยมบ้านเพื่อเป็นการเรียนรู้และเข้าใจชีวิตผู้ป่วยแบบองค์รวม จะเข้าใจวิถีชีวิต บริบทชีวิตของผู้ป่วยเป็นการสร้างสัมพันธภาพและความไว้วางใจระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ ทำให้ทราบทัศนคติเชิงลึกของผู้ป่วยซึ่งโยงถึงพฤติกรรมที่แท้จริงของผู้ป่วยต่อไป อันเป็นแนวทางอันดีที่จะให้บริการและสนับสนุนวิชาการที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วยและผู้ป่วยสามารถตัดสินใจเลือกนำไปปฏิบัติปรับใช้ให้เข้ากับวิถีชีวิตของตนเองได้อย่างเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และได้ตระหนักถึงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ และอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยรายเก่า
  3. 3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเห็นถึงความสำคัญของการเข้ารับการตรวจสุขภาพเป็นประจำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนตระหนักและใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    2. อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงลดลง
    3. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงลดลง
    4. ลดปัญหาการสูญเสียทางด้านสังคมและเศรษฐกิจที่เกิดจากการรักษาพยาบาลโดยตรงและค่าใช้จ่ายทางอ้อมที่ผู้ป่วยต้องหยุดงานและมีขีดความสามารถลดลงหรือมีความพิการหรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
    5. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถเป็นแบบอย่างและให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและประชาชนในชุมชนได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กลุ่มเป้าหมาย : 200 คน 1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและประชาชน มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเิกดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.ผู้ที่เข้าร่วมโครงการโครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ มีการลดอัตราการเกิดความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน 3.เพื่อให้ผหู้ที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ มีความสำคัญของการรับตรวจสุขภาพประจำปีเป็นประจำ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และได้ตระหนักถึงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และได้ตระหนักถึงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

     

    2 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ และอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยรายเก่า
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเห็นถึงความสำคัญของการเข้ารับการตรวจสุขภาพเป็นประจำ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และได้ตระหนักถึงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ และอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยรายเก่า (3) 3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเห็นถึงความสำคัญของการเข้ารับการตรวจสุขภาพเป็นประจำ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้มีภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3066-01-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด