โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย ”
ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางปารีณามะสะอะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ
เมษายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย
ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4117-01-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4117-01-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคฟันผุในเด็กเล็ก มีลักษณะฟันผุหลายซี่ในช่องปากของเด็กเล็ก โดยเฉพาะฟันหน้าบน 4 ซี่ฟันผุในฟันน้ำนมจะลุกลามจนถึงโพรงประสาทฟันได้รวดเร็วกว่าฟันแท้ เนื่องจากความหนาของเคลือบฟันและเนื้อฟันมีน้อยกว่าเนื่องจากความหนาของเคลือบฟันและเนื้อฟันมีน้อยกว่าโรคฟันผุเป็นโรคติดเชื้อ เนื่องจากสามารถแพร่กระจายเชื้อได้โดยสามารถถ่ายทอดเชื้อจากแม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กสู่ลูกได้ผลกระทบของการมีฟันผุในฟันน้ำนมนอกจากจะเกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อและปัญหาการบดเคี้ยวแล้วยังมีผลต่อน้ำหนัก และการเจริญเติบโตของเด็กบุคลิกภาพที่ขาดความมั่นใจในตนเองและอาจมีผลต่อการเกิดฟันผุและพัฒนาการของฟันแท้ด้วยปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมได้แก่ตัวฟัน อาหาร และเชื้อจุลินทรีย์
พฤติกรรมการเลี้ยงดู การทำความสะอาดพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการกินนมขวดฐานะทางเศรษฐกิจและการศึกษาของพ่อแม่ รวมทั้งประวัติการมีฟันผุของคนในครอบครัวส่งผลต่อการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กทั้งนี้เมื่อปี 2560 สถิติฟันผุในเด็กอายุ 0-5 ปี พบว่ามีเด็กเป็นโรคฟันผุถึงร้อยละ 68.62 ของจังหวัดยะลาร้อยละ 73.45 ของอำเภอกาบังและ ร้อยละ 79.21 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส โดยเฉพาะฟันหน้า 4 ซี่ และแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ
แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น ซึ่งสามารถป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ช่วยให้สามารถเก็บรักษาฟันน้ำนมให้มีสุขภาพดีและใช้งานได้เด็กก่อนวัยเรียนยังไม่สามารถดูแลตนเองได้ ในการพัฒนาด้านใด ๆ ก็ตาม ยังต้องการความช่วยเหลือสนับสนุนเป็นอย่างมากจากพ่อแม่ผู้ปกครอง ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่มีบทบาทในการดูแลเอาใจใส่และสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่เด็ก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส เล็งเห็นความสำคัญของผู้ปกครองที่จะช่วยกันดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กในวัยนี้ และผู้ปกครองเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่ง ที่จะกำหนดสภาวะทันตสุขภาพของเด็กเล็ก ตลอดจนพฤติกรรมในการดูแลสุภาพช่องปากที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพและจัดกระบวนการเรียนรู้เสริมสร้างการดูแลทันตสุขภาพให้กับผู้ปกครองเด็ก
- 2 เพื่อเป็นต้นแบบของการดูแลทันตสุขภาพของชุมชน โดยการจัดประกวดภาวะทันตสุขภาพของผู้ปกครองและเด็ก เพื่อเป็นตัวอย่างทางด้านทันตสุขภาพ
- 3 เพื่อลดภาวะฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้
- จัดกิจกรรมโดยการตรวจสุขภาพช่องปากผู้ปกครองและเด็ก พร้อมคำแนะนำ และนัดรับบริการทางทันตกรรมอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองของเด็กก่อนวัยเรียน และผู้ดูแลเด็กเข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ทางด้านทันตสุขภาพไปใช้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็กในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
2สามารถเป็นครอบครัวตัวอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากของคนในชุมชนได้
3เด็กก่อนวัยเรียนมีการลุกลามของโรคฟันผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้
วันที่ 8 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
4.4 จัดอบรมผู้ปกครอง จำนวน 90 คน ( 2 รุ่นๆ ละ45คน) โดยแบ่งเป็นฐานให้ความรู้ ดังนี้
ฐานที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับฟันน้ำนม
ฐานที่ 2 การใช้ยาสีฟันและแปรงสีฟันในเด็ก
ฐานที่ 3 อาหารที่มีประโยชน์และโทษ และทดสอบให้ผู้ปกครองลอง Shopping อาหารว่าเลือกอาหารที่มีประโยชน์หรือโทษ
ฐานที่ 4 สาธิตการแปรงฟันในเด็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
7.1. ผู้ปกครองของเด็กก่อนวัยเรียน และผู้ดูแลเด็กเข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ทางด้านทันตสุขภาพไปใช้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็กในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น
7.2 สามารถเป็นครอบครัวตัวอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากของคนในชุมชนได้
7.3 เด็กก่อนวัยเรียนมีการลุกลามของโรคฟันผุลดลง
90
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพและจัดกระบวนการเรียนรู้เสริมสร้างการดูแลทันตสุขภาพให้กับผู้ปกครองเด็ก
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2 เพื่อเป็นต้นแบบของการดูแลทันตสุขภาพของชุมชน โดยการจัดประกวดภาวะทันตสุขภาพของผู้ปกครองและเด็ก เพื่อเป็นตัวอย่างทางด้านทันตสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3 เพื่อลดภาวะฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพและจัดกระบวนการเรียนรู้เสริมสร้างการดูแลทันตสุขภาพให้กับผู้ปกครองเด็ก (2) 2 เพื่อเป็นต้นแบบของการดูแลทันตสุขภาพของชุมชน โดยการจัดประกวดภาวะทันตสุขภาพของผู้ปกครองและเด็ก เพื่อเป็นตัวอย่างทางด้านทันตสุขภาพ (3) 3 เพื่อลดภาวะฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ (2) จัดกิจกรรมโดยการตรวจสุขภาพช่องปากผู้ปกครองและเด็ก พร้อมคำแนะนำ และนัดรับบริการทางทันตกรรมอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4117-01-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปารีณามะสะอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย ”
ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางปารีณามะสะอะ
เมษายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4117-01-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4117-01-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคฟันผุในเด็กเล็ก มีลักษณะฟันผุหลายซี่ในช่องปากของเด็กเล็ก โดยเฉพาะฟันหน้าบน 4 ซี่ฟันผุในฟันน้ำนมจะลุกลามจนถึงโพรงประสาทฟันได้รวดเร็วกว่าฟันแท้ เนื่องจากความหนาของเคลือบฟันและเนื้อฟันมีน้อยกว่าเนื่องจากความหนาของเคลือบฟันและเนื้อฟันมีน้อยกว่าโรคฟันผุเป็นโรคติดเชื้อ เนื่องจากสามารถแพร่กระจายเชื้อได้โดยสามารถถ่ายทอดเชื้อจากแม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กสู่ลูกได้ผลกระทบของการมีฟันผุในฟันน้ำนมนอกจากจะเกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อและปัญหาการบดเคี้ยวแล้วยังมีผลต่อน้ำหนัก และการเจริญเติบโตของเด็กบุคลิกภาพที่ขาดความมั่นใจในตนเองและอาจมีผลต่อการเกิดฟันผุและพัฒนาการของฟันแท้ด้วยปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมได้แก่ตัวฟัน อาหาร และเชื้อจุลินทรีย์ พฤติกรรมการเลี้ยงดู การทำความสะอาดพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการกินนมขวดฐานะทางเศรษฐกิจและการศึกษาของพ่อแม่ รวมทั้งประวัติการมีฟันผุของคนในครอบครัวส่งผลต่อการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กทั้งนี้เมื่อปี 2560 สถิติฟันผุในเด็กอายุ 0-5 ปี พบว่ามีเด็กเป็นโรคฟันผุถึงร้อยละ 68.62 ของจังหวัดยะลาร้อยละ 73.45 ของอำเภอกาบังและ ร้อยละ 79.21 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส โดยเฉพาะฟันหน้า 4 ซี่ และแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น ซึ่งสามารถป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ช่วยให้สามารถเก็บรักษาฟันน้ำนมให้มีสุขภาพดีและใช้งานได้เด็กก่อนวัยเรียนยังไม่สามารถดูแลตนเองได้ ในการพัฒนาด้านใด ๆ ก็ตาม ยังต้องการความช่วยเหลือสนับสนุนเป็นอย่างมากจากพ่อแม่ผู้ปกครอง ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่มีบทบาทในการดูแลเอาใจใส่และสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่เด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส เล็งเห็นความสำคัญของผู้ปกครองที่จะช่วยกันดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กในวัยนี้ และผู้ปกครองเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่ง ที่จะกำหนดสภาวะทันตสุขภาพของเด็กเล็ก ตลอดจนพฤติกรรมในการดูแลสุภาพช่องปากที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพและจัดกระบวนการเรียนรู้เสริมสร้างการดูแลทันตสุขภาพให้กับผู้ปกครองเด็ก
- 2 เพื่อเป็นต้นแบบของการดูแลทันตสุขภาพของชุมชน โดยการจัดประกวดภาวะทันตสุขภาพของผู้ปกครองและเด็ก เพื่อเป็นตัวอย่างทางด้านทันตสุขภาพ
- 3 เพื่อลดภาวะฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้
- จัดกิจกรรมโดยการตรวจสุขภาพช่องปากผู้ปกครองและเด็ก พร้อมคำแนะนำ และนัดรับบริการทางทันตกรรมอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 90 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองของเด็กก่อนวัยเรียน และผู้ดูแลเด็กเข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ทางด้านทันตสุขภาพไปใช้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็กในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น 2สามารถเป็นครอบครัวตัวอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากของคนในชุมชนได้ 3เด็กก่อนวัยเรียนมีการลุกลามของโรคฟันผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 8 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ4.4 จัดอบรมผู้ปกครอง จำนวน 90 คน ( 2 รุ่นๆ ละ45คน) โดยแบ่งเป็นฐานให้ความรู้ ดังนี้
ฐานที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับฟันน้ำนม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น7.1. ผู้ปกครองของเด็กก่อนวัยเรียน และผู้ดูแลเด็กเข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ทางด้านทันตสุขภาพไปใช้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็กในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น 7.2 สามารถเป็นครอบครัวตัวอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากของคนในชุมชนได้ 7.3 เด็กก่อนวัยเรียนมีการลุกลามของโรคฟันผุลดลง
|
90 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพและจัดกระบวนการเรียนรู้เสริมสร้างการดูแลทันตสุขภาพให้กับผู้ปกครองเด็ก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อเป็นต้นแบบของการดูแลทันตสุขภาพของชุมชน โดยการจัดประกวดภาวะทันตสุขภาพของผู้ปกครองและเด็ก เพื่อเป็นตัวอย่างทางด้านทันตสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3 เพื่อลดภาวะฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 90 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพและจัดกระบวนการเรียนรู้เสริมสร้างการดูแลทันตสุขภาพให้กับผู้ปกครองเด็ก (2) 2 เพื่อเป็นต้นแบบของการดูแลทันตสุขภาพของชุมชน โดยการจัดประกวดภาวะทันตสุขภาพของผู้ปกครองและเด็ก เพื่อเป็นตัวอย่างทางด้านทันตสุขภาพ (3) 3 เพื่อลดภาวะฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ (2) จัดกิจกรรมโดยการตรวจสุขภาพช่องปากผู้ปกครองและเด็ก พร้อมคำแนะนำ และนัดรับบริการทางทันตกรรมอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพแบบบูรณาการ 2 วัย จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4117-01-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปารีณามะสะอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......