กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
น.ส.ซัลวาซา มะตาหยง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4117-01-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4117-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กุมภาพันธ์ 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล     การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล หมายถึง การใช้ยาโดยมีข้อบ่งชี้ มีประสิทธิผลจริง สนับสนุนด้วยหลักฐานที่เชื่อถือได้ มีราคาเหมาะสม ลดต้นทุนยาที่สั่งเกินความจำเป็น คำนึงถึงปัญหาเชื้อดื้อยา ใช้ยาในกรอบบัญชียาอย่างเป็นขั้นตอน (คู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ)จากการสำรวจสถานการณ์การใช้ยาในชุมชนปี2560 พบว่า ประชาชนยังมีพฤติกรรมผิดๆในการหาซื้อยาปฏิชีวนะใช้เองจากร้านค้า หรือมีการเรียกร้องขอใช้ยาปฏิชีวนะจากเจ้าหน้าที่ผู้สั่งจ่ายยาใน รพสต.บ่อยๆ     องค์การอนามัยโลกมีคำจำกัดความของ “การใช้ยาอย่างสมเหตุผล” ไว้ คือ “ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมกับปัญหา สุขภาพ โดยใช้ยาในขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ด้วยระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม และมีค่าใช้จ่ายต่อชุมชน และผู้ป่วยน้อยที่สุด” “Patients receive medications appropriate to their clinical needs, in doses that meet their own individual requirements, for an adequate period of time, and at the lowest cost to them and their community” (WHO, 1985)การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลเกิดขึ้นทั้งในสถานพยาบาล และชุมชน นับเป็นปัญหาระดับชาติมานานหลายทศวรรษที่สำคัญ เช่นการบริโภคยาปฏิชีวนะโดยพบว่าประชาชนใช้ยาปฏิชีวนะ รักษาโรคหวัดซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสอย่างแพร่หลาย ประมาณร้อยละ 40-60 ในต่างจังหวัด และร้อยละ 70-80 ในกรุงเทพมหานครแม้การส่งเสริมใช้ยาอย่างสมเหตุผลมีการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มมีนโยบายแห่งชาติด้านยา พ.ศ. 2524 ก็ตาม     ปัญหาการเข้าถึงระบบบริการด้านสาธารณสุขและยา ของประชาชนในชนบทยังคงเป็นจุดบอดของ ภาครัฐที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ร้านค้าในหมู่บ้านจึงเป็นทางเลือกเดียวที่มีพร้อมทั้งข้าวของเครื่องใช้ อุปโภคบริโภครวมถึงยาสามัญประจำบ้าน ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาชุด เมื่อเจ็บป่วยเป็นไข้หวัด ปวดหัว ปวดท้อง ต้องนึกถึงร้านขายของชำใกล้บ้านเป็นแห่งแรก อีกทั้งยังมีรถเร่ขายยาแก้ปวดสารพัดนึก ปวดหัว ปวดขา ปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง โดยชาวบ้านหารู้ไม่ว่ายาเหล่านี้มี สารสเตียรอยด์ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อชีวิต และก่อให้เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา
สืบเนื่องจาก นโยบายปลัดกระทรวงสาธารณสุขให้มีการจัดทำ “ตัวชี้วัดบูรณาการ” เพื่อให้เกิดมิติ การทำงานเชื่อมโยงบูรณาการข้ามหน่วยงานระดับกรม และเชื่อมโยงการทำงานส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้องถิ่นให้สอดประสานงานการทำงานอย่ามีประสิทธิภาพ
จากการสำรวจร้านค้าขายของชำในเขตพื้นที่ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา พบว่า มีการใช้ยาชุด ยาลูกกลอน ยาปฏิชีวนะและยาอันตรายในทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะกลุ่มผู้ใช้แรงงาน เกษตรกร และผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเมื่อย หรือปวดข้อเรื้อรัง มักจะใช้ยาชุดที่มีส่วนประกอบของสารสเตียรอยด์ จำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งอาจนำมาสู่ปัญหาสุขภาพ เช่น ภาวะคุชชิ่ง (Cushings syndrome) หรือ ต่อมหมวกไตบกพร่อง (Adrenal insufficiency) ที่เกิดจากการใช้ยาชุด ยาลูกกลอน ยาสเตียรอยด์ และนำไปสู่ปัญหาการแพ้ยาซ้ำ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา เล็งเห็นถึงปัญหาจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน โดยมีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องยาต่างๆ และความรู้เรื่องโรคต่างๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาในชุมชน
  2. 2. เพื่อลดความเสี่ยงจากการใช้ยาในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคและยาแก่ประชาชนที่มารับบริการรพ.สต.บาละจำนวน 120 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เข้าใจถึงโรคตามฤดูกาลและการใช้ยาได้อย่างถูกต้อง รวมถึงการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันและการดูแลตนเองเมื่อเกิดโรคได้ 2. สามารถดูแลตนเองเมื่อมีอาการแพ้ยาได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการป้องกันการแพ้ยาได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคและยาแก่ประชาชนที่มารับบริการรพ.สต.บาละจำนวน 120 คน

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกับเจ้าหน้าที่รพ.สต.บาละ เพื่อให้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. ประชุมอสมและกำหนดกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ 3. วิเคราะห์ปัญหาที่พบและจัดทำแผนการดำเนินงาน 4.  เขียนแผน/โครงการ เพื่อเสนออนุมัติ 5.  ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. ประชาสัมพันธ์โครงการภายในชุมชน
7. ดำเนินงานตามโครงการ

  ขั้นดำเนินการ
1. ติดป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ
2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคและยาแก่ประชาชนทั่วไป ที่มารับบริการที่รพ.สต.บาละ โดยอบรมให้ความรู้เรื่องโรคตามฤดูกาล การเลือกใช้ยาอย่างถูกวิธี รู้จักอาการแพ้ยา และการดูแลตนเองเมื่อมีอาการแพ้ยา การเลือกใช้ยาสมุนไพรอย่างถูกวิธี

    ระยะหลังดำเนินการ
1. สรุปและประเมินผลการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เข้าใจถึงโรคตามฤดูกาลและการใช้ยาได้อย่างถูกต้อง รวมถึงการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันและการดูแลตนเองเมื่อเกิดโรคได้ 2. สามารถดูแลตนเองเมื่อมีอาการแพ้ยาได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการป้องกันการแพ้ยาได้

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อลดความเสี่ยงจากการใช้ยาในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาในชุมชน (2) 2. เพื่อลดความเสี่ยงจากการใช้ยาในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคและยาแก่ประชาชนที่มารับบริการรพ.สต.บาละจำนวน  120 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4117-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.ซัลวาซา มะตาหยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด