โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน ”
ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.ซัลบีย๊ะ บุซา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน
ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4117-02-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4117-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กุมภาพันธ์ 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
สถานการณ์ฟันผุในเด็กไทย ถือว่าอยู่ในสภาวะที่น่าเป็นห่วง จากผลการสำรวจพบว่าเด็กไทยมีปัญหาฟันผุถึง 78.๕% หรือเฉลี่ย ๔.๔ ซี่ต่อคน นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย ได้กล่าวไว้ว่าแม้ปัญหาฟันผุจะไม่อันตรายถึงชีวิต แต่ก็ไม่ควรมองข้าม เพราะปัญหาฟันผุหลายซี่ในปาก มีความสัมพันธ์กับภาวะเตี้ย แคระแกร็น ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการล่าช้า เพราะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากเวลาฟันผุ ไม่อยากเคี้ยวอาหาร ดังนั้นฟันที่ดีจึงถือเป็นประตูด่านแรกที่ทำให้ได้เด็กมีสุขภาพดีสมส่วน
โรงเรียนบ้านคลองน้ำใสก็มีสภาวะปัญหานักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันเฉกเช่นเดียวกัน โดยผลการตรวจสุขภาพฟันนักเรียนชั้น ป.๑-๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ มีนักเรียนฟันผุในอัตราที่สูง คิดเป็นร้อยละ ๖๗.๘๓% และมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอีก หากไม่ได้รับการแก้ไข ซึ่งปัญหาดังกล่าวก็มาจากหลายสาเหตุ อาจจะเกิดจากผู้ปกครองมีเวลาสนใจเรื่องสุขภาพนักเรียนน้อย นักเรียนเองรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น การนิยมกินขนมกรุบกรอบ ลูกอม น้ำหวาน น้ำอัดลมบ่อยๆ การมีค่านิยมในการบริโภคที่ผิดๆ หรือสาเหตุมาจากการไม่เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพช่องปาก การไม่แปรงฟัน นักเรียนไม่เห็นความสำคัญของการแปรงฟันและการแปรงฟันไม่ถูกวิธี ปัญหาฟันผุจึงมาจากสาเหตุย่อยๆ หลายส่วนรวมกัน ซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบโดยตรงต่อนักเรียน ไม่ว่าจะเป็นน้ำหนัก การเจริญเติบโต พัฒนาการ บุคลิกภาพของนักเรียนและที่สำคัญคือส่งผลกระทบต่อการเรียน ทำให้นักเรียนหยุดเรียนบ่อย อีกทั้งปัญหาฟันผุนำไปสู่การสูญเสียฟันในวัยเด็กและอาจสะสมจนต้องสูญเสียฟันทั้งปากในวัยผู้ใหญ่ตามมา
ทางโรงเรียนบ้านคลองน้ำใสเล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้เสนอโครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน ขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ หลีกเลี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคอาหารกลุ่มเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดฟันผุ ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี มีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพ เพราะปัญหาสุขภาพช่องปากและฟัน เป็นสิ่งที่ป้องกันได้ถ้าทุกคนใส่ใจ นักเรียนมีพัฒนาการที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยโรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์กลางของการสร้างสุขภาพแก่เด็ก ครอบครัวและชุมชน การที่ทุกคนมีสุขภาพดีจะทำให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๒.๑ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้
- ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพฟันที่ดี
- ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
465
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๘.๑ นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้
๘.๒ นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
๘.๓ นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
๘.๔ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี
๘.๕ นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการแปรงฟัน
๘.๖ นักเรียนมีฟันผุลดลง
๘.๗ นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และขยายผลไปสู่ที่บ้านอย่างทั่วถึง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
วิธีดำเนินการ(ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป)
๔.๑ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขอสนับสนุนงบประมาณ
๔.๒ ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความ
เข้าใจในแนวเดียวกัน
๔.๓ กำหนดรูปแบบกิจกรรมการให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย
๔.๓.๑ กิจกรรมอบรมให้ความรู้นักเรียนทั้ง ๓ กลุ่มเป้าหมาย(แยกอบรมวันละ ๑ กลุ่ม)
ในหัวข้อดังนี้
- สถานการณ์สุขภาพของนักเรียนในโรงเรียน
- สุขบัญญัติแห่งชาติ
- การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
- การเลือกแปรงสีฟัน ยาสีฟันและการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
- การแปรงฟันและย้อมสีฟัน
๔.๔ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการอบรม
๔.๕ ดำเนินงานตามโครงการ
๔.๖ ประเมินผล สรุปโครงการ
๔.๗ รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๘.๑ นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้
๘.๒ นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
๘.๓ นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
๘.๔ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี
๘.๕ นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการแปรงฟัน
๘.๖ นักเรียนมีฟันผุลดลง
๘.๗ นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และขยายผลไปสู่ที่บ้านอย่างทั่วถึง
465
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๒.๑ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้
ตัวชี้วัด :
0.00
2
๒.๒ เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพฟันที่ดี
ตัวชี้วัด :
0.00
3
๒.๓ เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
465
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
465
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้ (2) ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพฟันที่ดี (3) ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4117-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.ซัลบีย๊ะ บุซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน ”
ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.ซัลบีย๊ะ บุซา
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4117-02-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4117-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กุมภาพันธ์ 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
สถานการณ์ฟันผุในเด็กไทย ถือว่าอยู่ในสภาวะที่น่าเป็นห่วง จากผลการสำรวจพบว่าเด็กไทยมีปัญหาฟันผุถึง 78.๕% หรือเฉลี่ย ๔.๔ ซี่ต่อคน นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย ได้กล่าวไว้ว่าแม้ปัญหาฟันผุจะไม่อันตรายถึงชีวิต แต่ก็ไม่ควรมองข้าม เพราะปัญหาฟันผุหลายซี่ในปาก มีความสัมพันธ์กับภาวะเตี้ย แคระแกร็น ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการล่าช้า เพราะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากเวลาฟันผุ ไม่อยากเคี้ยวอาหาร ดังนั้นฟันที่ดีจึงถือเป็นประตูด่านแรกที่ทำให้ได้เด็กมีสุขภาพดีสมส่วน
โรงเรียนบ้านคลองน้ำใสก็มีสภาวะปัญหานักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันเฉกเช่นเดียวกัน โดยผลการตรวจสุขภาพฟันนักเรียนชั้น ป.๑-๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ มีนักเรียนฟันผุในอัตราที่สูง คิดเป็นร้อยละ ๖๗.๘๓% และมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอีก หากไม่ได้รับการแก้ไข ซึ่งปัญหาดังกล่าวก็มาจากหลายสาเหตุ อาจจะเกิดจากผู้ปกครองมีเวลาสนใจเรื่องสุขภาพนักเรียนน้อย นักเรียนเองรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น การนิยมกินขนมกรุบกรอบ ลูกอม น้ำหวาน น้ำอัดลมบ่อยๆ การมีค่านิยมในการบริโภคที่ผิดๆ หรือสาเหตุมาจากการไม่เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพช่องปาก การไม่แปรงฟัน นักเรียนไม่เห็นความสำคัญของการแปรงฟันและการแปรงฟันไม่ถูกวิธี ปัญหาฟันผุจึงมาจากสาเหตุย่อยๆ หลายส่วนรวมกัน ซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบโดยตรงต่อนักเรียน ไม่ว่าจะเป็นน้ำหนัก การเจริญเติบโต พัฒนาการ บุคลิกภาพของนักเรียนและที่สำคัญคือส่งผลกระทบต่อการเรียน ทำให้นักเรียนหยุดเรียนบ่อย อีกทั้งปัญหาฟันผุนำไปสู่การสูญเสียฟันในวัยเด็กและอาจสะสมจนต้องสูญเสียฟันทั้งปากในวัยผู้ใหญ่ตามมา
ทางโรงเรียนบ้านคลองน้ำใสเล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้เสนอโครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน ขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ หลีกเลี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคอาหารกลุ่มเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดฟันผุ ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี มีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพ เพราะปัญหาสุขภาพช่องปากและฟัน เป็นสิ่งที่ป้องกันได้ถ้าทุกคนใส่ใจ นักเรียนมีพัฒนาการที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยโรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์กลางของการสร้างสุขภาพแก่เด็ก ครอบครัวและชุมชน การที่ทุกคนมีสุขภาพดีจะทำให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๒.๑ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้
- ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพฟันที่ดี
- ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 465 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๘.๑ นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้ ๘.๒ นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี ๘.๓ นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ๘.๔ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี ๘.๕ นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการแปรงฟัน ๘.๖ นักเรียนมีฟันผุลดลง ๘.๗ นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และขยายผลไปสู่ที่บ้านอย่างทั่วถึง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำวิธีดำเนินการ(ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป)
๔.๑ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขอสนับสนุนงบประมาณ
๔.๒ ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความ
เข้าใจในแนวเดียวกัน
๔.๓ กำหนดรูปแบบกิจกรรมการให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่คาดว่าจะได้รับ ๘.๑ นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้ ๘.๒ นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี ๘.๓ นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ๘.๔ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี ๘.๕ นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการแปรงฟัน ๘.๖ นักเรียนมีฟันผุลดลง ๘.๗ นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และขยายผลไปสู่ที่บ้านอย่างทั่วถึง
|
465 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๒.๑ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพฟันที่ดี ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 465 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 465 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ได้ (2) ๒.๒ เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของตนเองที่นำไปสู่การมีสุขภาพฟันที่ดี (3) ๒.๓ เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการวัยใส ใส่ใจรักษ์ฟัน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 61-L4117-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.ซัลบีย๊ะ บุซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......