กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายสตอปา ตาเละ




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8300-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2561 ถึง 15 มีนาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8300-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2561 - 15 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลได้ตระหนักถึงคุณค่าและคุณความดีของอาสาสมัคร สาธารณสุขจึงได้มีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2536 กำหนดให้ วันที่ 20 มีนาคมของทุกปี เป็นวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ ซึ่งไม่เพียงแต่จะเป็นวันที่มีความสำคัญ และมีความหมายต่ออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เท่านั้น แต่ยังเป็นวันที่มีความสำคัญต่อการสาธารณสุขในประเทศไทยอีกด้วย เนื่องจากวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2522 เป็นวันที่รัฐบาลได้บรรจุให้การสาธารณสุขมูลฐานเป็นนโยบายและโครงการระดับ ชาติ เป็นกลุ่มบุคคลภายในชุมชนที่ได้รับการอบรมให้ความรู้จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขด้วยความเสียสละต่อประชาชนในหมู่บ้าน โดยมีบทบาทหน้าที่ในการดูแล ให้คำแนะนำ ในการปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามหลักสุขอนามัยเพื่อสุขภาพของตนเอง ตลอดจนให้การช่วยเหลือขั้นพื้นฐาน ซึ่งผู้ที่จะทำหน้าที่ อสม. ได้นั้นนอกจากจะมีคุณสมบัติตามที่กำหนดแล้ว จะต้องผ่านการคัดเลือกอีกด้วยซึ่งปัจจุบันได้มี อสม. เกือบ 7แสนคน อยู่ทั่วประเทศทั้งในเขตเมือง ชนบท ที่ทำการถ่ายทอดความรู้ กระตุ้นเตือน และส่งเสริมชักชวนให้ชาวบ้านในพื้นที่ มีความสนใจเรื่องการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค เพื่อให้ชาวบ้านมีสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ต้องมีความสมัครใจ เสียสละ พร้อมทำงานเพื่อสังคมโดยส่วนรวม ทั้งด้านการพัฒนาสุขภาพ คอยแก้ไขปัญหาเรื่องสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของชาวบ้าน ส่วนใหญ่คนที่เป็น อสม. ก็ไม่ได้จำกัดอายุ จำกัดเพศ สามารถอ่านออกเขียนได้ อยู่ในพื้นที่เดียวกัน อสม.เปรียบเสมือนคนส่งสาร(Messenger) เพราะจะนำข่าวสารเรื่องสาธารณสุขมาบอกต่อชุมชน ให้คำแนะนำเกี่ยวกับสุขภาพ เรื่องอนามัยอาหารและที่อยู่ เรื่องอนามัยแม่และเด็ก อนามัยฟัน นำชาวบ้านร่วมกิจกรรมสาธารณสุข เป็นต้น
ฉะนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลแว้ง จึงต้องมีการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและอาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อจัดให้อสม.มีองค์ความรู้ โดยส่งเสริมความเข้าใจ ในเรื่องการดูแลสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มุมมองการดูแลสุขภาพประชาชนในละแวกรับผิดชอบร่วมกับภาคประชาชนอื่นๆที่มีส่วนในการดูแลประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้แก่ อสม. และเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่
  2. ประชุมชี้แจงความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.และเครือข่าย
  3. สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับพื้นที่เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของงานเป้าหมายที่เป็นกลุ่มวัยต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บรรยายให้ความรู้การทำงานของ อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 3

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.และเครือข่ายสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลให้คำปรึกษาทางด้านปัญหาสุขภาพ หรือความเจ็บป่วย ภาคประชาชน
2.ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงสถานบริการ และสมารถพึ่งตนเองได้ ทั้งในสถานบริการของรัฐและในพื้นที่ 3.เครือข่าย อสม.มีความเข้มแข็ง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. บรรยายให้ความรู้การทำงานของ อสม.

วันที่ 15 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงแนวทางการพัฒนาศักยภาพ อสม.เกี่ยวกับงานสร้างสุขภาพ ภาคประชาชน
2.อบรมและทำกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงาน พร้อมปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขร่วมกัน
3.คัดเลือก อสม.ต้นแบบการดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในการจัดโครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้แก่ อสม. และเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่และสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับพื้นที่เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของงานเป้าหมายที่เป็นกลุ่มวัยต่างๆ ซึ่งได้รับความสนใจจาก อสม.ป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในการจัดโครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้แก่ อสม. และเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่และสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับพื้นที่เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของงานเป้าหมายที่เป็นกลุ่มวัยต่างๆ ซึ่งได้รับความสนใจจาก อสม.ป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้แก่ อสม. และเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อสม.และเครือข่ายสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลให้คำปรึกษาทางด้านปัญหาสุขภาพ หรือความเจ็บป่วย ภาคประชาชน
0.00

 

2 ประชุมชี้แจงความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.และเครือข่าย
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงสถานบริการ และสามารถพึ่งตนเองได้ ทั้งในสถานบริการของรัฐและในพื้นที่
0.00

 

3 สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับพื้นที่เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของงานเป้าหมายที่เป็นกลุ่มวัยต่างๆ
ตัวชี้วัด : เมื่อมีเครือข่ายที่เข้มแข็งทำให้การช่วยเหลือประชาชนเป็นระบบที่เข้าถึงได้ง่าย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 103
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 3

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้แก่ อสม. และเครือข่าย ในการดูแลสุขภาพภาคประชาชนในพื้นที่ (2) ประชุมชี้แจงความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่ อสม.และเครือข่าย (3) สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับพื้นที่เพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของงานเป้าหมายที่เป็นกลุ่มวัยต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้การทำงานของ อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8300-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสตอปา ตาเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด