กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพวะและลดการตั้งครรภ์วัยรุ่น (กิจกรรมเปิดห้องเรียน อบรมพ่อแม่ ผู้ใหญ่คุยเปิดใจ ลูกหลานปลอดภัย) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพวะและลดการตั้งครรภ์วัยรุ่น (กิจกรรมเปิดห้องเรียน อบรมพ่อแม่ ผู้ใหญ่คุยเปิดใจ ลูกหลานปลอดภัย) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเอกชัยกิ้มด้วงประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เขต 2

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพวะและลดการตั้งครรภ์วัยรุ่น (กิจกรรมเปิดห้องเรียน อบรมพ่อแม่ ผู้ใหญ่คุยเปิดใจ ลูกหลานปลอดภัย) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7250-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพวะและลดการตั้งครรภ์วัยรุ่น (กิจกรรมเปิดห้องเรียน อบรมพ่อแม่ ผู้ใหญ่คุยเปิดใจ ลูกหลานปลอดภัย) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพวะและลดการตั้งครรภ์วัยรุ่น (กิจกรรมเปิดห้องเรียน อบรมพ่อแม่ ผู้ใหญ่คุยเปิดใจ ลูกหลานปลอดภัย) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพวะและลดการตั้งครรภ์วัยรุ่น (กิจกรรมเปิดห้องเรียน อบรมพ่อแม่ ผู้ใหญ่คุยเปิดใจ ลูกหลานปลอดภัย) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 572,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีแนวโน้มของการคลอดบุตรจากแม่วัยรุ่นอายุ 10-19 ปีเพิ่มอย่างต่อเนื่อง และมีการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่มีอายุน้อยกว่า 15 ปีเพิ่มขึ้นอย่างน่าเป็นห่วง จากรายงานสถิติการคลอดของแม่วัยรุ่นในประเทศไทย พบว่า ในปี พ.ศ.2556 จากจำนวนการคลอดทั้งหมด 748,067 ราย เป็นการคลอดของวัยรุ่นหรือผู้มีอายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 125,371 ราย (ร้อยละ 16.8) นอกจากนี้จำนวนในการคลอดซ้ำของวัยรุ่นก็พบว่ายังมีอัตราที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย ซึ่งการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นส่งผลกระทบตามมาหลายด้าน เช่น เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ การยุติการตั้งครรภ์ การขาดโอกาสทางการศึกษา ฯลฯจากรายงานการเฝ้าระวังทางพฤติกรรมของสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารสุขพบว่า วัยรุ่นเริ่มมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกอายุน้อยลงเรื่อย ๆ ระหว่าง 13-15 ปีและยังพบว่าการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกส่วนใหญ่ไม่มีการใช้ถุงยางอนามัย มากถึงร้อยละ 50 ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัย ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น พบว่า ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้วิธีการคุมกำเนิดไม่สม่ำเสมอ หรือไม่ได้ใช้วิธีการป้องกันใดๆผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคมพบว่า มารดาวัยรุ่นมีโอกาสสูงที่จะหยุดการศึกษากลางคันหรือเรียนไม่จบ เนื่องจากในหลายๆ ประเทศ การตั้งครรภ์ในขณะที่เป็นนักเรียนยังไม่เป็นที่ยอมรับ เป็นเรื่องน่าอับอาย ทำให้หญิงวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ถูกบังคับทั้งทางตรงหรือทางอ้อมให้ออกจากโรงเรียน
ในจังหวัดสงขลาในปีงบประมาณ 2557 อัตราการคลอดของวัยรุ่นหญิงอายุ15–19 ปีเท่ากับ 43.11 ซึ่งในปีงบประมาณ 2558 และค่าประมาณการเมื่อสิ้นปี 2558 จะอยู่ที่ 41.40 แม้ว่าจะลดลงจากปีที่ผ่านมาบ้างเล็กน้อยแต่พบว่าอำเภอส่วนใหญ่ยังมีอัตราการคลอดสูงกว่าค่าเฉลี่ยของจังหวัดโดยพบว่าอำเภอสะเดา ยังมีปัญหาอัตราการคลอดในกลุ่มวัยรุ่นสูงสุดเท่ากับ 34.49 ต่อพันประชากรวัยรุ่นหญิง อายุ 15-19 ปีรองลงมาคืออำเภอสิงหนคร อำเภอรัตภูมิคิดเป็น 33.42 และ 27.34 ตามลำดับ การป้องกันปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ จึงเป็นเรื่องสำคัญ นอกเหนือจากโรงเรียนต้องให้ความรู้แก่ตัววัยรุ่นเองเพื่อให้มีภูมิคุ้มกันและมีทักษะในการใช้ชีวิตทางเพศ แล้วครอบครัวก็ต้องเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งหน้าที่สำคัญของพ่อแม่ /ผู้ปกครองในการช่วยให้เด็กมีภูมิคุ้มกันในเรื่องเพศ คือ การสร้างความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดผ่านการสนทนาแบบ“เปิดใจคุย” อันเป็นที่มาของการประสานความร่วมมือกับมูลนิธิแพธทูเฮลท์ซึ่งมีประสบการณ์ในการทำงานด้านการพัฒนาสุขภาวะเยาวชนมายาวนานและร่วมมือกับเชฟรอนมาในหลายโครงการมากกว่าแปดปีเพื่อให้เข้ามาเป็นหน่วยวิชาการและขับเคลื่อนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชนตื่นตัวขึ้นมาร่วมกันออกแบบ วางแผน และดำเนินงานร่วมกันโดยมีหัวใจสำคัญคือการมีส่วนร่วมของกลุ่มพ่อแม่ ผู้ปกครองลุกขึ้นมาเป็นภาคีสำคัญในการร่วมกันพัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาวะทางเพศของเยาวชนเพื่อป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบอันเกิดจาก การใช้ชีวิตทางเพศไม่ว่าจะเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เอชไอวี และ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) เพื่อให้ชุมชน พ่อแม่ ผู้ปกครอง มี ความรับรู้ ข้อมูล ทัศนะ และ ทักษะสื่อสารในครอบครัวที่เป็นผลดีต่อการพัฒนาวัยรุ่นในการใช้ชีวิตทางเพศที่ปลอดภัยและรับผิดชอบ 2) เพื่อส่งเสริมบทบาทครอบครัวและชุมชนในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพ และการสื่อสารเพื่อสร้างสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น 3) ให้มีทักษะการสื่อสารกับบุตรหลานวัยรุ่นในเรื่องเพศ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. พ่อแม่ ผู้ปกครอง ที่กำลังดูแลบุตรหลานในชุมชนได้รับการทำความเข้าใจและส่งเสริมให้สื่อสารในเชิงบวก เพื่อส่งเสริมให้เกิดการป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาวะทางเพศและใช้ชีวิตทางเพศอย่างรับผิดชอบ ๒. พ่อแม่ ผู้ปกครอง วัยรุ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ เจตนคติ และทักษะที่เกี่ยวข้องในการป้องกัน ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น ๓. เกิดการระดมทรัพยากรจากท้องถิ่นมาร่วมสนับสนุนกิจกรรมของโครงการ ๔. ผู้นำชุมชนเข้าร่วม และสนับสนุนการทำงานของโครงการและเกิดแกนนำที่สามารถเป็นปากเสียงและผลักดันการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นต่อเนื่องหลังโครงการสิ้นสุด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.เตรียมแผนปฏิบัติงาน กิจกรรมเปิดห้องเรียนอบรมพ่อแม่ ผู้ใหญ่คุยเปิดใจ ลูกหลานปลอดภัย 2.วางแผนการทำงานและเสนอโครงการต่อกองทุนฯ 3.ประสานกับคณะวิทยากรผู้ให้การอบรม 4.ประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 5.เตรียมสื่อเอกสารและสถานที่ฝึกอบรม 6.จัดกิจกรรมเปิดห้องเรียนพ่อแม่ให้กับ พ่อแม่ผู้ปกครองที่มีบุตรวัยรุ่นในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ตามปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมเปิดห้องเรียน อบรม 7.ประเมินและติดตามผล 8.สรุปปละรายงานผลต่อกองทุนฯ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1) เพื่อให้ชุมชน พ่อแม่ ผู้ปกครอง มี ความรับรู้ ข้อมูล ทัศนะ และ ทักษะสื่อสารในครอบครัวที่เป็นผลดีต่อการพัฒนาวัยรุ่นในการใช้ชีวิตทางเพศที่ปลอดภัยและรับผิดชอบ 2) เพื่อส่งเสริมบทบาทครอบครัวและชุมชนในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพ และการสื่อสารเพื่อสร้างสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น 3) ให้มีทักษะการสื่อสารกับบุตรหลานวัยรุ่นในเรื่องเพศ
    ตัวชี้วัด : • การทำแบบประเมินเป็นระยะ ๆ เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง ทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ เจตนคติ และทักษะที่เกี่ยวข้องในการป้องกัน ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น
    0.00 3.72

    แบบประ้มินความพึงพอใจในการอบรมพ่อแม่ ผู้ปกครอง เพื่อพัฒนาการสื่อสารเรื่องเพศกับลูกหลาน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อให้ชุมชน พ่อแม่ ผู้ปกครอง มี ความรับรู้ ข้อมูล ทัศนะ และ ทักษะสื่อสารในครอบครัวที่เป็นผลดีต่อการพัฒนาวัยรุ่นในการใช้ชีวิตทางเพศที่ปลอดภัยและรับผิดชอบ 2) เพื่อส่งเสริมบทบาทครอบครัวและชุมชนในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพ และการสื่อสารเพื่อสร้างสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น 3) ให้มีทักษะการสื่อสารกับบุตรหลานวัยรุ่นในเรื่องเพศ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพวะและลดการตั้งครรภ์วัยรุ่น (กิจกรรมเปิดห้องเรียน อบรมพ่อแม่ ผู้ใหญ่คุยเปิดใจ ลูกหลานปลอดภัย) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L7250-2-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเอกชัยกิ้มด้วงประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เขต 2 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด