โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายเอกชัยกิ้มด้วงประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เขต 2
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-2-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบันที่มีสภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัฒน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ ส่งผลกระทบทำให้แบบแผนการดำเนินชีวิตของครอบครัวเปลี่ยนแปลงไปการแพร่ระบาดของยาเสพติดที่สำคัญ พบว่ามาจากปัจจัยครอบครัว เช่น ครอบครัวแตกแยก หย่าร้าง การใช้ความรุนแรงในครอบครัวเด็กขาดความอบอุ่นการอบรมเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม บุคคลในครอบครัวติดการพนัน หรืออยู่ในครอบครัวที่มีบุคคลในครอบครัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเป็นต้นซึ่งแทบจะทุกครอบครัวที่มีผู้ติดยาเสพติด จะมีปัญหาต่าง ๆ ซึ่งเป็นปัญหาสังคมเกิดขึ้นตามมาเป็นลูกโซ่อีกมากมาย
ดังนั้น การตระหนักและให้ความสำคัญว่าปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่ต้องให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของครอบครัว ในการเฝ้าระวังการเสพและการค้ายาเสพติดในชุมชน ตลอดจนเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้แก่สมาชิกในครอบครัวที่มีแนวโน้มต่อปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนที่เสี่ยงต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดจะช่วยให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นไปอย่างยั่งยืน และสร้างให้ครอบครัวเป็นสุข ชุมชนเข้มแข็ง ประเทศชาติมั่นคง
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา เขต 2 จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว (กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด)ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และแสดงออกในทางที่ถูกต้อง สมาชิกในครอบครัวได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของครอบครัว ความรัก การเอาใจใส่ที่ดีจะช่วยให้สมาชิกในครอบครัวไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักรู้ถึงปัญหายาเสพติด รู้ถึงทักษะการปฏิเสธ ให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสมาชิกในครอบครัวและชุมน เสริมสร้างความเข้าใจ มีสัมพันธภาพที่ดีและการใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนมีพฤติกรรมมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และแสดงออกในทางที่ถูกต้อง
- 2. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักรู้ถึงปัญหายาเสพติด
- 3. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวรู้ถึงทักษะการปฏิเสธ
- 4. เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสมาชิกในครอบครัว และชุมชน 5. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ มีสัมพันธภาพที่ดีและการใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักถึงความสำคัญของครอบครัวและผลกระทบในเรื่องยาเสพติด
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับยาเสพติด และทักษะในการปฏิเสธ
- สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับเพิ่มเติมไปปรับใช้ในครอบครัวเพื่อป้องกันไม่ให้สมาชิกในครอบครัวเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้
- สามารถสร้างเครือข่ายครอบครัวในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.1 สำรวจสภาพปัญหาสังคมที่อาจจะส่งผลกระทบต่อสถาบันครอบครัวในพื้นที่รับผิดชอบ 12 ชุมชน จึงได้คิดหาแนวทางในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาร่วมกัน ใน 5 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กและเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส
1.2 วางแผนการทำงานและเสนอโครงการต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา
1.3 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่คณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา เขต 2
1.4 ประสานงานกับคณะวิทยากรผู้ให้การอบรม
1.5 คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
1.6 เตรียมสื่อ เอกสาร และสถานที่ฝึกอบรม
1.7 ปฏิบัติการฝึกอบรมตามโครงการ/กิจกรรม
1.8 ประเมินและติดตามผล
1.9 สรุปและรายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนมีพฤติกรรมมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และแสดงออกในทางที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) จำนวน 30 ครอบครัว
0.00
20.00
จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าฝึกอบรม
2
2. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักรู้ถึงปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2.เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของครอบครัวและผลกระทบในเรื่องยาเสพติดและมีความพึงพอใจ ร้อยละ80
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับยาเสพติด และทักษะในการปฏิเสธ สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับเพิ่มเติมไปปรับใช้ในครอบครัวเพื่อป้องกันไม่ให้สมาชิกในครอบครัวเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้ ร้อยละ 100
0.00
95.75
แบบสอบถาม
3
3. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวรู้ถึงทักษะการปฏิเสธ
ตัวชี้วัด : 3. เชิงเวลา โครงการดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 90
0.00
3.16
3.86 หลังอบรม
4
4. เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสมาชิกในครอบครัว และชุมชน 5. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ มีสัมพันธภาพที่ดีและการใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
ตัวชี้วัด : 4. เชิงค่าใช้จ่าย โครงการดำเนินการโดยใช้งบประมาณตามที่ประมาณการไว้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
0.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนมีพฤติกรรมมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และแสดงออกในทางที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักรู้ถึงปัญหายาเสพติด (3) 3. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวรู้ถึงทักษะการปฏิเสธ (4) 4. เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสมาชิกในครอบครัว และชุมชน 5. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ มีสัมพันธภาพที่ดีและการใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเอกชัยกิ้มด้วงประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เขต 2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายเอกชัยกิ้มด้วงประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เขต 2
กันยายน 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-2-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบันที่มีสภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัฒน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ ส่งผลกระทบทำให้แบบแผนการดำเนินชีวิตของครอบครัวเปลี่ยนแปลงไปการแพร่ระบาดของยาเสพติดที่สำคัญ พบว่ามาจากปัจจัยครอบครัว เช่น ครอบครัวแตกแยก หย่าร้าง การใช้ความรุนแรงในครอบครัวเด็กขาดความอบอุ่นการอบรมเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม บุคคลในครอบครัวติดการพนัน หรืออยู่ในครอบครัวที่มีบุคคลในครอบครัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเป็นต้นซึ่งแทบจะทุกครอบครัวที่มีผู้ติดยาเสพติด จะมีปัญหาต่าง ๆ ซึ่งเป็นปัญหาสังคมเกิดขึ้นตามมาเป็นลูกโซ่อีกมากมาย ดังนั้น การตระหนักและให้ความสำคัญว่าปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่ต้องให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของครอบครัว ในการเฝ้าระวังการเสพและการค้ายาเสพติดในชุมชน ตลอดจนเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้แก่สมาชิกในครอบครัวที่มีแนวโน้มต่อปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนที่เสี่ยงต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดจะช่วยให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นไปอย่างยั่งยืน และสร้างให้ครอบครัวเป็นสุข ชุมชนเข้มแข็ง ประเทศชาติมั่นคง จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา เขต 2 จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว (กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด)ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และแสดงออกในทางที่ถูกต้อง สมาชิกในครอบครัวได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของครอบครัว ความรัก การเอาใจใส่ที่ดีจะช่วยให้สมาชิกในครอบครัวไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักรู้ถึงปัญหายาเสพติด รู้ถึงทักษะการปฏิเสธ ให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสมาชิกในครอบครัวและชุมน เสริมสร้างความเข้าใจ มีสัมพันธภาพที่ดีและการใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนมีพฤติกรรมมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และแสดงออกในทางที่ถูกต้อง
- 2. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักรู้ถึงปัญหายาเสพติด
- 3. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวรู้ถึงทักษะการปฏิเสธ
- 4. เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสมาชิกในครอบครัว และชุมชน 5. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ มีสัมพันธภาพที่ดีและการใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักถึงความสำคัญของครอบครัวและผลกระทบในเรื่องยาเสพติด
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับยาเสพติด และทักษะในการปฏิเสธ
- สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับเพิ่มเติมไปปรับใช้ในครอบครัวเพื่อป้องกันไม่ให้สมาชิกในครอบครัวเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้
- สามารถสร้างเครือข่ายครอบครัวในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.1 สำรวจสภาพปัญหาสังคมที่อาจจะส่งผลกระทบต่อสถาบันครอบครัวในพื้นที่รับผิดชอบ 12 ชุมชน จึงได้คิดหาแนวทางในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาร่วมกัน ใน 5 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กและเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส
1.2 วางแผนการทำงานและเสนอโครงการต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา
1.3 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่คณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา เขต 2
1.4 ประสานงานกับคณะวิทยากรผู้ให้การอบรม
1.5 คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
1.6 เตรียมสื่อ เอกสาร และสถานที่ฝึกอบรม
1.7 ปฏิบัติการฝึกอบรมตามโครงการ/กิจกรรม
1.8 ประเมินและติดตามผล
1.9 สรุปและรายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนมีพฤติกรรมมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และแสดงออกในทางที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) จำนวน 30 ครอบครัว |
0.00 | 20.00 | จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าฝึกอบรม |
|
2 | 2. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักรู้ถึงปัญหายาเสพติด ตัวชี้วัด : 2.เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญของครอบครัวและผลกระทบในเรื่องยาเสพติดและมีความพึงพอใจ ร้อยละ80 - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับยาเสพติด และทักษะในการปฏิเสธ สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับเพิ่มเติมไปปรับใช้ในครอบครัวเพื่อป้องกันไม่ให้สมาชิกในครอบครัวเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้ ร้อยละ 100 |
0.00 | 95.75 | แบบสอบถาม |
|
3 | 3. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวรู้ถึงทักษะการปฏิเสธ ตัวชี้วัด : 3. เชิงเวลา โครงการดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 90 |
0.00 | 3.16 | 3.86 หลังอบรม |
|
4 | 4. เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสมาชิกในครอบครัว และชุมชน 5. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ มีสัมพันธภาพที่ดีและการใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว ตัวชี้วัด : 4. เชิงค่าใช้จ่าย โครงการดำเนินการโดยใช้งบประมาณตามที่ประมาณการไว้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 |
0.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนมีพฤติกรรมมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และแสดงออกในทางที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวตระหนักรู้ถึงปัญหายาเสพติด (3) 3. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวรู้ถึงทักษะการปฏิเสธ (4) 4. เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ในการดูแลสมาชิกในครอบครัว และชุมชน 5. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ มีสัมพันธภาพที่ดีและการใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสมของเด็ก เยาวชน และสมาชิกในครอบครัว(กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด) ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 2 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเอกชัยกิ้มด้วงประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เขต 2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......