กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการเสริมสร้างครอบครัวสุขภาพวะในชุมชน เทศบาลนครสงขลา ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 3 ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเชาว์สุชลสถิตย์ ประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เขต 3

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างครอบครัวสุขภาพวะในชุมชน เทศบาลนครสงขลา ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 3

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7250-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างครอบครัวสุขภาพวะในชุมชน เทศบาลนครสงขลา ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 3 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างครอบครัวสุขภาพวะในชุมชน เทศบาลนครสงขลา ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 3



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างครอบครัวสุขภาพวะในชุมชน เทศบาลนครสงขลา ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 3 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในหลายศตวรรษที่ผ่านมา สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเกิดขึ้นเป็นอย่างมาก อันเป็นผลพวงมาจากการพัฒนาประเทศตามแนวคิดการพัฒนากระแสหลักหรือการพัฒนาที่เดินตามการชี้นำของประเทศตะวันตก ทำให้ทุกองคาพยพของสังคมพลอยถูกขับเคลื่อน หรือบางส่วนอาจเข้าข่ายการถูกฉุดดึงไปตามกระแสการพัฒนาด้วย สถาบันครอบครัวไทยก็เป็นส่วนหนึ่งที่ถูกเชื่อมโยงเข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้น การพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนากระแสหลักให้ความสำคัญกับการสร้างความมั่งคั่งร่ำรวย หรือความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เน้นการพัฒนาแบบแยกส่วน ทำให้เกิดกระบวนการดึงคนออกมาจากครอบครัว แยกพ่อแม่ ลูกหลาน ปู่ย่าตายาย ออกจากกัน ผลของการพัฒนานั้นแม้จะทำให้ครอบครัวไทยมีภาวะทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น มีความสุขสบายด้านวัตถุมากขึ้น แต่ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวที่เคยแนบแน่นและอบอุ่นก็เริ่มเลือนหายไป เปลี่ยนแปลงเป็นความสัมพันธ์ที่ไม่แนบแน่นดังก่อน ความผูกพันกันในเชิงอารมณ์และความรู้สึกมีค่อนข้างน้อย คนในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันน้อยลง พ่อแม่มีหน้าที่แสวงหาทรัพย์สินเงินทอง และวัตถุเพื่อมาเลี้ยงดูปรนเปรอความสุขให้ลูก ส่วนลูกซึ่งต้องทำหน้าที่เรียนหนังสือ ก็ถูกวัฒนธรรมต่างชาติและอบายมุขชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย การเติบโตเป็นผู้ใหญ่เป็นไปตามยถากรรม เด็กๆเรียนรู้ชีวิตด้วยตนเองจากสังคมนอกบ้านมากกว่าสังคมในบ้าน สภาพการณ์เช่นนี้หลายคนมองว่าสถาบันครอบครัวไทยกำลังตกต่ำอยู่ในสภาพใกล้ล่มสลาย ไม่มีความเป็นครอบครัวเหลืออยู่
ซึ่งครอบครัวเองก็ไม่สามารถยับยั้ง หรือผ่อนคลายปัญหาได้ ทุกคนได้แต่คอยเรียกร้องให้ คนนอก ไม่ว่าจะเป็น ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่รัฐ หรือแม้แต่รัฐบาลให้เข้ามาช่วยจัดการแก้ไขปัญหาครอบครัว
ไม่ว่าจะมองเรื่องนี้กันอย่างไร สังคมทำให้สถาบันครอบครัวเกิดปัญหา หรือสถาบันครอบครัวกลายเป็นปัญหาของสังคม แต่สิ่งที่คนในสังคมไทยเวลานี้เห็นพ้องร่วมกันก็คือสังคมต้องให้ความสำคัญกับสถาบันครอบครัวให้มากขึ้น ต้องทำความเข้าใจครอบครัวที่อยู่ท่ามกลางกระแสพายุของการเปลี่ยนแปลง ให้มากขึ้น ทุกวันนี้แม้เราเติบโตจากครอบครัว แต่เราก็แทบจะไม่รู้จักครอบครัวอย่างแท้จริง เพราะขาดข้อมูล ที่ลึกซึ้ง น่าเชื่อถือเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในสถาบันครอบครัวให้สามารถอ้างอิงเผยแพร่ได้
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา เขต 3 จึงได้จัดทำโครงการกิจกรรมค่ายครอบครัวสัมพันธ์ขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมทั้งด้านสุขภาพจิตและสุขภาพกายครอบครัว ในพื้นที่ชุมชนเขต 3 ให้สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและปกติสุข ให้ครอบครัวมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาในครอบครัวของตนเอง ครอบครัวได้ใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ครอบครัวมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาในครอบครัวของตนเอง
  2. 2. เพื่อให้ครอบครัวได้ใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ
  3. 3. เพื่อดำเนินงานตามแนวทางของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
  4. 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ทั้งด้านสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ให้กับครอบครัวในพื้นที่ชุมชนเขต 3 ให้สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและปกติสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทบทวนทุกข์สุขของครอบครัวและเห็นความเชื่อมโยงของปัจจัยภายนอกที่เข้ามากระทบต่อครอบครัว เริ่มมองเห็นว่าครอบครัวไม่ได้อยู่โดดเดี่ยว แต่เชื่อมโยงกับสังคม ชุมชนด้วย
    2. ทำให้ชุมชนมีศูนย์รวมในการพัฒนาสถาบันครอบครัวที่มีการจัดการโดยชุมชน
    3. ทำให้ชุมชนได้เรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบันครอบครัว ที่จะนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนในการบริหารงาน และแก้ไขปัญหาสังคมอย่างยั่งยืนต่อไป
    4. ครอบครัวทุกครอบครัวจะเป็นหน่วยงานพื้นฐานที่เป็นภูมิคุ้มกันปัญหาสังคม แก่สมาชิกทุกวัยในครอบครัว และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสังคมของตนเองและชุมชน โดยยึดหลักการพึ่งตนเอง
    5. ปัญหาสังคมในชุมชนจะลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.1 สำรวจสภาพปัญหาสังคมที่อาจจะส่งผลกระทบต่อสถาบันครอบครัวในพื้นที่รับผิดชอบ 14 ชุมชน จึงได้คิดหาแนวทางในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาร่วมกัน ใน 5 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กและเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส
    1.2 วางแผนการทำงานและเสนอโครงการต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา 1.3 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่คณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลนครสงขลา เขต 3
    1.4 ประสานงานกับคณะวิทยากรผู้ให้การอบรม 1.5 คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 1.6 เตรียมสื่อ เอกสาร และสถานที่ฝึกอบรม 1.7 ปฏิบัติการฝึกอบรมตามโครงการ/กิจกรรม 1.8 ประเมินและติดตามผล 1.9 สรุปและรายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลา

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ครอบครัวมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาในครอบครัวของตนเอง
    ตัวชี้วัด : 1. เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างครอบครัวสุขภาวะในชุมชนเทศบาลนครสงขลา เขต 3 จำนวน 30 ครอบครัว
    0.00 30.00

    จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมฝึกอบรม

    2 2. เพื่อให้ครอบครัวได้ใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ
    ตัวชี้วัด : 2. เชิงคุณภาพ - ติดตามผลความเปลี่ยนแปลง ว่ามีความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือไม่หลังจากเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 - เกิดสัมพันธภาพในครอบครัวไปในทางที่ดี ร้อยละ 90
    0.00 80.00

    แบบติดตาม(สมุดบันทึกครอบครัว) การสังเกต

    3 3. เพื่อดำเนินงานตามแนวทางของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
    ตัวชี้วัด : 3. เชิงเวลา โครงการดำเนินการแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 90
    0.00 93.20

    แบบสอบถาม

    4 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ทั้งด้านสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ให้กับครอบครัวในพื้นที่ชุมชนเขต 3 ให้สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและปกติสุข
    ตัวชี้วัด : 4. เชิงค่าใช้จ่าย โครงการดำเนินการโดยใช้งบประมาณตามที่ประมาณการไว้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
    0.00 100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ครอบครัวมีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาในครอบครัวของตนเอง (2) 2. เพื่อให้ครอบครัวได้ใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ (3) 3. เพื่อดำเนินงานตามแนวทางของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน  (4) 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ทั้งด้านสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ให้กับครอบครัวในพื้นที่ชุมชนเขต 3 ให้สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและปกติสุข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างครอบครัวสุขภาพวะในชุมชน เทศบาลนครสงขลา ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เทศบาลนครสงขลา เขต 3 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L7250-2-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเชาว์สุชลสถิตย์ ประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน เขต 3 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด