กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการพัฒนาระบบบริการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางรีนาโต๊ะเจ๊ะผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5307-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง (2) ๒. เพื่อให้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพเน้นการควบคุมกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOTS) โดยญาติ หรือ อสม. (3) ๓. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคในชุมชนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรมในการป้องกันและควบคุมวัณโรคที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ อสม. เรื่องการค้นหาผู้ป่วย การรับยารักษาโรควัณโรค และ การกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOTS) โดยญาติ หรือ อสม. (2) ค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเเละผู้เข้าข่ายสงสัยในชุมชน (3) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกคาดอัตราป่วยวัณโรครายใหม่ในประเทศไทยจากการสำรวจความชุกพบว่าในปี 2557 มีประมาณ 120,000 รายคิดเป็น 171 ต่อแสนประชากร ซึ่งพบในกลุ่ม ผู้สูงอายุ แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง ผู้ติดเชื้อ HIV ผู้ป่วยเบาหวานเป็นต้น ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานหรือดื้อยาหลักอย่างน้อย 2 ชนิดคือไอโสไนอาสิดและไรแฟมพิซินประมาณ 2,200 ราย มาจากผู้ป่วยใหม่ 1,100 ราย, ผู้ป่วยมีประวัติรักษาวัณโรคมาก่อน 1,100 ราย
วัณโรค เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจอีกโรคหนึ่ง ที่มีการระบาดเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วในชุมชน โดยเฉพาะในชุมชนที่มีประชาชนอยู่กันแออัด ผู้ป่วยมักจะมีอาการไอต่อเนื่องเกิน ๒ สัปดาห์ เจ็บหน้าอก มีไข้ต่ำๆ หรือบางรายอาจไม่มีอาการแสดง หรือบางรายพบในผู้ป่วยติดเชื้อ HIV วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่รายแรงและค้นหาผู้ป่วยได้ยาก เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการเจ็บป่วยของตนเองกลัวสังคมรังเกียจปฏิเสธการรักษาพยาบาลเพราะยังมีประชาชนบางส่วนที่มีความเข้าใจที่ผิดในเรื่องโรควัณโรคเช่นผู้ป่วยโรคเอดส์เป็นโรควัณโรคทุกรายแต่ความจริงผู้ป่วยวัณโรคไม่จำเป็นต้องเป็นโรคเอดส์ เพราะโรคเอดส์เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องดังนั้นจึงทำให้เกิดโรควัณโรคแทรกซ้อนได้ง่ายปัจจุบันโรควัณโรคมียารักษาให้หายขาดได้แต่ต้องกินยาต่อเนื่องตามระยะเวลาที่กำหนดห้ามหยุดยาหรือเพิ่มขนาดยาเองแต่ยังมีผู้ป่วยบางส่วนที่หยุดกินยาเอง เนื่องจากมีอาการแพ้ยาจากฤทธิ์ของยาทำให้ผู้ป่วยหยุดการรักษาเองและทำให้เชื้อดื้อยาจนต้องเปลี่ยนวิธีการรักษาที่ยุ่งยากขึ้นยิ่งวิธีการรักษาที่ยุ่งยากเท่าไหร่การขาดการรักษาที่ต่อเนื่องยิ่งมากเท่านั้น ซึ่งอาจส่งผลเสียให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคเพิ่มขึ้นและอาการของโรครุนแรง เกิดโรคแทรกซ้อน รักษายากใช้เวลานาน จากรายงานวัณโรคของโรงพยาบาลสตูลปี 2560 ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนทั้งสิ้น 120 รายคิดเป็นอัตราป่วย 106.44 ต่อแสนประชากร ผลสำเร็จของการรักษาร้อยละ 86.70 ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายคือร้อยละ 87
สถานการณ์วัณโรคของตำบลบ้านควนพบผู้ป่วยตั้งแต่ปี2555-2561ตามลำดับดังนี้ 1,3,6,1,4,4,3 รายทุกปีตั้งแต่ 1 – 6 ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชน เพื่อกำหนดแนวทางการควบคุมโรคโดยมุ่งเน้น
“ค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาเครือข่ายและระบบการดูแลรักษา”กำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOTS)
โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขญาติ หรือ อสม. จนรักษาหาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง
  2. ๒. เพื่อให้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพเน้นการควบคุมกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOTS) โดยญาติ หรือ อสม.
  3. ๓. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคในชุมชนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรมในการป้องกันและควบคุมวัณโรคที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ อสม. เรื่องการค้นหาผู้ป่วย การรับยารักษาโรควัณโรค และ การกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOTS) โดยญาติ หรือ อสม.
  2. ค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเเละผู้เข้าข่ายสงสัยในชุมชน
  3. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 97
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หลังจากการดำเนินโครงการเสร็จสิ้นคาดว่า อสม. มีความรู้ในเรื่องการดูแลผู้ป่วยวัณโรคด้วยการดำเนินงานแบบการกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOTS)ได้อย่างถูกต้องสามารถค้นหาผู้ที่มีอาการเข้าข่ายวัณโรคให้ได้รับการรักษาได้ทันเวลาและผู้ป่วยวัณโรคสามารถรักษาสำเร็จและไม่กลับเป็นซ้ำโดยมุ่งเน้น
“ค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาเครือข่ายและระบบการดูแลรักษา”ต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ อสม. เรื่องการค้นหาผู้ป่วย การรับยารักษาโรควัณโรค และ การกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOTS) โดยญาติ หรือ อสม.

วันที่ 21 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่ อสม. เรื่องการค้นหาผู้ป่วย การรับยารักษาโรควัณโรค และ การกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOTS)  โดยญาติ หรือ อสม. เเละค้นหา/คัดกรองกลุ่มเเละผู้เข้าข่ายสงสัยในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเสี่ยงในผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองจำนวน 606 คน
      -กลุ่มเสี่ยงในผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองจำนวน 184 คน
      -ผู้สัมผัสร่วมบ้านได้รับการคัดกรอง จำนวน 6 ราย
  2. ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพเน้นการคงบคุมกับ(DOTS)โดยญาติหรือ อสม. จำนวน 6 ราย   -ม.2 จำนวน 1 ราย   -ม.5 จำนวน 3 ราย   -ม.7 จำนวน 2 ราย
  3. อสม. มีความรู้เรื่องการค้นหาผู้ป่วยการรับยารักษาโรควัณโรคเเละการกำกับยาเเบบมีพี่เลี้ยง (DOTS) โดยญาติหรือ อสม. โดยการเล่นเกมส์ OX ตอบปัญหาชิงรางวัลจากวิทยากร ได้รับรางวัลจำนวน 6 ราย เเละ อสม. ทุกคนสามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง

 

97 0

2. ค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเเละผู้เข้าข่ายสงสัยในชุมชน

วันที่ 26 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. กลุ่มเสี่ยงในผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง
  2. กลุ่มเสี่ยงในผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรอง
  3. ผู้สัมผัสร่วมบ้านได้รับการคัดกรอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การค้นหา คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเเละผู้เข้าข่ายสงสัยในชุมชนโดย อสม. ในชุมชนที่ได้ผ่านการอบรม

 

97 0

3. สรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 28 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินโครงการพัฒาระบบบริการเฝ้าระวังป้องกันเเละควบคัมวัณโรคในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.มีความรู้เรื่องการค้นหาผุ้ป่วยการรับยารักษาโรควัณโรคเเละการกำกับการกินยาเเบบมีพี่เลี้ยง(DOTS) โดยญาติหรือ อสม.

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กลุ่มเสี่ยงในผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองจำนวน 606 คน
      -กลุ่มเสี่ยงในผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองจำนวน 184 คน
      -ผู้สัมผัสร่วมบ้านได้รับการคัดกรอง จำนวน 6 ราย
  2. ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพเน้นการคงบคุมกับ(DOTS)โดยญาติหรือ อสม. จำนวน 6 ราย   -ม.2 จำนวน 1 ราย   -ม.5 จำนวน 3 ราย   -ม.7 จำนวน 2 ราย
  3. อสม. มีความรู้เรื่องการค้นหาผู้ป่วยการรับยารักษาโรควัณโรคเเละการกำกับยาเเบบมีพี่เลี้ยง (DOTS) โดยญาติหรือ อสม. โดยการเล่นเกมส์ OX ตอบปัญหาชิงรางวัลจากวิทยากร ได้รับรางวัลจำนวน 6 ราย เเละ อสม. ทุกคนสามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง สิ่งที่ได้เรียนรู้ การอบรมให้ความรู้ อสม. จำนวนมากในเวลาพร้อมกันทำได้ยากเพราะบางคนมีภารกิจจำเป็นเร่งด่วนฉุกเฉิน ไม่สามารถมาร่วมประชุมได้ เเละสภาพอากาศไม่สามารถบอกเเน่นอนได้เพราะ อสม. ส่วนใหญ่ขับขี่รถมอเตอร์ไซด์ เมื่อฝนตกไม่สามารถมาร่วมประชุมได้ตามวัน เวลา ที่ได้วางเเผนไว้ สิ่งที่ประทับใจ การให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งของ อสม. ทุกคนที่สามารถมาร่วมประชุมอบรมให้ความรู้เรื่องการค้นหาผู้ป่วย การรับยารักษาโรควัณโรค เเละการกำกับการกินยาเเบบมีพี่เลี้ยง (DOTS) โดยญาติ หรือ อสม. ในขณะที่ฝนตกหนักตลอดจนวิทยากรจาก สสจ. สตูลที่มาให้ความรู้ในครั้งนี้ด้วยความยินดียิ่งโดยไม่รับค่าตอบเเทนวิทยากร

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเสี่ยงในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้สัมผัสร่วมบ้านได้รับการคัดกรองวัณโรคทุกราย
0.00 606.00

กลุ่มเสี่ยงในผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง

2 ๒. เพื่อให้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพเน้นการควบคุมกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOTS) โดยญาติ หรือ อสม.
ตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพเน้นการควบคุมกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOTS) โดยญาติ หรือ อสม. และได้รับการเยี่ยมบ้านทุกราย
0.00 6.00

ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพเน้นการคงบคุมกับ(DOTS)โดยญาติหรือ อสม.

3 ๓. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคในชุมชนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรมในการป้องกันและควบคุมวัณโรคที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 3.อสม.มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรควัณโรค และการกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOTS) ได้อย่างถูกต้อง ๔. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคของประชาชนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรมในการป้องกันและควบคุมวัณโรคที่ถูกต้อง
0.00 6.00

อสม. มีความรู้เรื่องการค้นหาผู้ป่วยการรับยารักษาโรควัณโรคเเละการกำกับยาเเบบมีพี่เลี้ยง (DOTS) โดยญาติหรือ อสม.

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 97
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 97
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง (2) ๒. เพื่อให้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพเน้นการควบคุมกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOTS) โดยญาติ หรือ อสม. (3) ๓. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคในชุมชนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรมในการป้องกันและควบคุมวัณโรคที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ อสม. เรื่องการค้นหาผู้ป่วย การรับยารักษาโรควัณโรค และ การกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOTS) โดยญาติ หรือ อสม. (2) ค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเเละผู้เข้าข่ายสงสัยในชุมชน (3) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบบริการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5307-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรีนาโต๊ะเจ๊ะผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด