กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ


“ โครงการร่วมใจแก้ปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ ”

ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางดียานา ประจงไสย

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจแก้ปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ

ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8413-02-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใจแก้ปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจแก้ปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใจแก้ปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8413-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ค่านิยมบริโภคอาหารทอดที่เพิ่มมากขึ้นจนผลิตภัณฑ์อาหารทอดต่างๆ กลายเป็นอาหารขายดีทั้งในระดับชุมชนจนถึงห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่มีการใช้น้ำมันทอดอาหารทั้งที่ทำจากสัตว์และพืชโดยเฉพาะน้ำมันพืชที่แต่ละปีประเทศไทยบริโภคถึงปีละ๘๐๐,๐๐๐ตันซึ่งข้อเท็จจริงพบว่าผู้ประกอบการอาหารทอด จะใช้น้ำมันในการทอดซ้ำหลายครั้งจนลักษณะทางกายภาพของน้ำมันหรือคุณลักษณะของอาหารเสียไปจึงเปลี่ยนน้ำมันใหม่ หรือเติมน้ำมันใหม่ผสมลงไปทอดอาหารซ้ำๆต่อไปการเสื่อมสภาพของน้ำมันจากการทอดเกิดสารประกอบที่เป็นอันตรายต่อร่างกายคือ “สารโพลาร์”ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของโรคความดันโลหิตสูงหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคมะเร็งซึ่งในน้ำมันสำหรับทอดอาหารกำหนดให้มีปริมาณสารโพลาร์ไม่เกินร้อยละ๒๕ของน้ำหนักโดยการตรวจปริมาณสารโพลาร์ในน้ำมัน จะช่วยให้ผู้ประกอบการอาหารทอด ทราบเวลาที่ต้องเปลี่ยนน้ำมันของร้านตนเองที่ยังคงความปลอดภัย และลดต้นทุนตามสมควร นอกจากนี้ การป้องกันไม่ให้น้ำมันที่เสื่อมสภาพแล้วกลับมาสู่วงจรการบริโภค โดยนำไปผลิตเป็นน้ำมันไบโอดีเซลหรือนำไปใช้ในการผลิตสบู่ซึ่งถือเป็นการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและปลอดภัยที่ดีทางหนึ่งด้วย ดังนั้น เทศบาลตำบลบาลออาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 2496 มาตรา 50 (๖) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม จึงได้จัดทำโครงการร่วมใจแก้ไขปัญหาน้ำมันทอดซ้ำขึ้นเพื่อให้ประชาชนผู้บริโภคและผู้ประกอบการอาหารในเขตเทศบาลตำบลบาลอ ได้มีความตระหนักถึงอันตรายจากน้ำมันทอดซ้ำ และประสานความร่วมมือกันเพื่อป้องกันหรือลดอันตรายจากสารพิษในน้ำมันทอดซ้ำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภค มีความเข้าใจถึงอันตรายของน้ำมันทอดซ้ำต่อสุขภาพ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อหลีกเลี่ยงการได้รับสารพิษจากน้ำมันทอดซ้ำ
  2. เพื่อทราบสถานการณ์ ค่าสารโพลาร์ในน้ำมันทอดของผู้ประกอบการขายอาหารในเขต เทศบาลตำบลบาลอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อภิปราย เรื่อง “รู้เท่าทันภัย สร้างใจให้เป็นสุข”
  2. ลงพื้นที่ส่งตรวจร้านขายอาหารทอดที่เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ประกอบการร้านอาหาร มีความตระหนักถึงอันตรายจากสารพิษในน้ำมันทอดซ้ำ และ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๒. มีแนวการจัดการน้ำมันเก่าที่เสื่อมสภาพแล้วอย่างเหมาะสม
๓. เกิดการพัฒนากลไกระบบการคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการเฝ้าระวังปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อภิปราย เรื่อง “รู้เท่าทันภัย สร้างใจให้เป็นสุข”

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ รณรงค์งดการใช้น้ำมันทอดซ้ำ 2.จัดอบรมผู้ประกอบการและผู้บริโภค ให้ความรู้เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคตระหนักถึงอันตรายจากน้ำมันทอดซ้ำ และวิธีหลีกเลี่ยงอันตรายจากน้ำมันทอดซ้ำ -อภิปราย เรื่อง รู้เท่าทันภัย สร้างใจให้เป็นสุข -อบรมให้ความรู้เรื่อง อันตรายจากน้ำมันทอดซ้ำ -อบรมให้ความรู้เรื่อง ไขมันทรานซ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ประกอบการร้านอาหาร มีความตระหนักถึงอันตรายจากสารพิษในน้ำมันทอดซ้ำ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.มีแนวทางการจัดการน้ำมันเก่าที่เสื่อมสภาพแล้วอย่างเหมาะสม 3.เกิดกลไกระบบการคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการเฝ้าระวังปัญหาน้ำมันทอดซ้ำอภิปราย

 

100 0

2. ลงพื้นที่ส่งตรวจร้านขายอาหารทอดที่เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่สุ่มตรวจร้านขายอาหารทอดที่เข้าร่วมโครงการฯและสุ่มตรวจโดยใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ 2 ครั้ง ในระยะเวลา 4 สัปดาห์ และมีกิจกรรมเพื่อเติมได้แก่ -แนะนำให้ผู้ขายอาหารทอดรู้จักวิธีการตรวจสอบสารโพลาห์ในน้ำมันทอดอาหาร เพื่อให้ทราบรอบของการเปลี่ยนน้ำมัน รวมถึงวิธีการกำจัดน้ำมันเสื่อมคุณภาพที่ใช้แล้วอย่างเหมาะสม -มอบป้ายเกียรติคุณ"ร้านนี้ใช้น้ำมันทอดปลอดภัย"กรณีร้านผ่านมาตรฐานน้ำมันตามที่กำหนด(จากการสุ่มตรวจจำนวน2 ครั้ง มีผลการตรวจผ่านมาตรฐาน 2 ครั้งติดต่อกัน) จัดตั้งเครือข่ายสายตรวจสุขภาพ เพื่อสุ่มตรวจสารโพลาร์น้ำมันทอดซ้ำในร้านอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดเครือข่าย"สายตรวจสุขภาพ"

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภค มีความเข้าใจถึงอันตรายของน้ำมันทอดซ้ำต่อสุขภาพ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อหลีกเลี่ยงการได้รับสารพิษจากน้ำมันทอดซ้ำ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อทราบสถานการณ์ ค่าสารโพลาร์ในน้ำมันทอดของผู้ประกอบการขายอาหารในเขต เทศบาลตำบลบาลอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละร้านอาหารที่พบสารโพลาร์น้ำมันทอดซ้ำ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภค มีความเข้าใจถึงอันตรายของน้ำมันทอดซ้ำต่อสุขภาพ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อหลีกเลี่ยงการได้รับสารพิษจากน้ำมันทอดซ้ำ  (2) เพื่อทราบสถานการณ์ ค่าสารโพลาร์ในน้ำมันทอดของผู้ประกอบการขายอาหารในเขต เทศบาลตำบลบาลอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อภิปราย เรื่อง “รู้เท่าทันภัย สร้างใจให้เป็นสุข” (2) ลงพื้นที่ส่งตรวจร้านขายอาหารทอดที่เข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมใจแก้ปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8413-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดียานา ประจงไสย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด