กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน


“ โครงการส่งเสรืมสุขภาพหญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดปี 2561 ”

ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางศุภญา ทองขาวเผือก

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสรืมสุขภาพหญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดปี 2561

ที่อยู่ ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3353-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสรืมสุขภาพหญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสรืมสุขภาพหญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสรืมสุขภาพหญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3353-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในอดีตสังคมไทยเป็นครอบครัวขยาย ก็กลายเปลี่ยนเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นการทำงานนอกบ้านของผู้หญิงเพิ่มมากขึ้น เวลาในการเลี้ยงดูลูกในวัยต่างๆ ตั้งแต่วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียนและวัยรุ่นน้อยลง พ่อแม่มีเวลาให้ลูกน้อยลงสถาบันครอบครัวอ่อนแอจนอาจเกิดผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อย ส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านร่างกาย และสติปัญญาของเด็กในระยะยาวแม่ คือ บุคคลที่สำคัญที่สุด เป็นคนที่ดูแลเพื่อให้ลูกเจริญเติบโต แข็งแรง ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เมื่อคลอดออกมาต้องเลี้ยงดูให้ลูก เป็นเด็กที่ฉลาดซึ่งสามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ตั้งแต่อยู่ในครรภ์เด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อย คือ เด็กที่มีน้ำหนักแรกคลอด น้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ซึ่งเด็กเหล่านี้ มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย ส่งผลให้มีพัฒนาการที่ล่าช้า และมีปัญหาด้านภาวะโภชนาการดังนั้นการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ จึงเริ่มตั้งแต่ การวางแผนก่อนตั้งครรภ์ขณะทารกอยู่ในครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ควรมีความรู้ในการดูแลตนเอง และทารกในครรภ์ได้อย่างถูกต้อง เหมะสม สามารถเลือกรับประทานอาหารที่ช่วยพัฒนาสมอง และร่างกายของทารกในครรภ์ เพื่อส่งเสริมให้ทารก มีน้ำหนักตามเกณฑ์ และมารดามีภาวะสุขภาพปกติตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนหลังคลอด ทารก คลอดออกมาแล้ว ต้องให้ความสำคัญของการเลี้ยงดูแลลูกการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังเป็นการสร้างความผูกพัน ระหว่างลูกกับแม่ ช่วงสามปีแรกของทารกเป็นโอกาสทองของการเติบโต พัฒนา ปรับตัว เรียนรู้ หากแม่มีความรู้ในการเลี้ยงดูลูกย่อมส่งผลให้ลูกมีการเติบโตและพัฒนาการเหมาะสมตามวัย มีอารมณ์ที่มั่นคง และเป็นผลดีต่อสังคมในอนาคต จึงจัดทำโครงการเพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ หญิงวัยเจริญพันธุ์มีการเตรียมพร้อมก่อนแต่งงานและก่อนมีบุตรจึงมีความสำคัญต่อการป้องกันความพิการแต่กำเนิด ซึ่งความพิการแต่กำเนิดสามารถป้องกันได้หากมีการเตรียมความพร้อมที่ดี การใช้โฟเลตในหญิงวัยเจริญพันธุ์เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นมาก ถึงแม้สาเหตุของความพิการแต่กำเนิดมีหลายปัจจัย และบางปัจจัยอาจเหนือการควบคุม แต่ก็สามารถป้องกันได้ทั้งการตรวจร่างกายก่อนตั้งครรภ์ และรับประทานอาหารที่ดี หากทราบหลังการตั้งครรภ์แล้วไม่สามารถแก้ไขได้ และให้หญิงมีครรภ์มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติจริงด้วยตนเองในการเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนและเลี้ยงดูลูกจนอายุ 5 ปี โดยประสานเจ้าหน้าที่พยาบาล/สาธารณสุขในการให้ความรู้และเป็นที่ปรึกษาแก่แม่และพ่อในการเลี้ยงลูก สร้างความมั่นใจในการเลี้ยงลูกอย่างมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีการเตรียมพร้อมก่อนแต่งงานและก่อนมีบุตร
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ มีความตระหนักถึงความสำคัญ และมีความรู้ทางโภชนาการที่ถูกต้อง เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพดี คลอดทารกที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า 2500 กรัม ทารกมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์
  3. ข้อที่ 3 . เพื่อให้ทารกทุกคนมีการเจริญเติบโต และพัฒนาการดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ทำให้เป็นผู้ที่สามารถ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ และแกนนำ อสม.
  2. กิจกรรมให้ความรู้แก่ พ่อแม่
  3. กิจกรรมเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 65
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงวัยเจริญพันธุ์มีการเตรียมพร้อมก่อนแต่งงานและก่อนมีบุตรจึงมีความสำคัญต่อการป้องกันความพิการแต่กำเนิด ซึ่งความพิการแต่กำเนิดสามารถป้องกันได้ 2.หญิงมีครรภ์มีความตระหนักถึงความสำคัญ และมีความรู้ทางโภชนาการที่ถูกต้อง คลอดบุตรที่มีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัมและหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมมาอย่างน้อย 6 เดือน สามารถดูแลบุตรได้ดี 3. ทารกมีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญาอย่างสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ และแกนนำ อสม.

วันที่ 30 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-จัดทำโครงการขออนุมัติ -สำรวจข้อมูล -ออกเยี่ยมบ้านหญิงหลังคลอด -ตรวจประเมินร่างกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-หญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับความรู้ -หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี -ทารกมีการเจริญเติบโตและสุขภาพที่ดี

 

75 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีการเตรียมพร้อมก่อนแต่งงานและก่อนมีบุตร
ตัวชี้วัด : 1.หญิงวัยเจริญพันธุ์ ได้รับความรู้ เกี่ยวกับโฟเลตและสามารถการป้องกันความพิการเด็กแต่กำเนิดได้
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ มีความตระหนักถึงความสำคัญ และมีความรู้ทางโภชนาการที่ถูกต้อง เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพดี คลอดทารกที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า 2500 กรัม ทารกมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์
ตัวชี้วัด : 2.หญิงตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพดี คลอดทารกที่มีน้ำหนักตัวมากกว่าหญิงวัยเจริญพันธุ์ ได้รับความรู้ เกี่ยวกับโฟเลตและการป้องกันความพิการแต่กำเนิดกรัม ทารกมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ทุกราย
0.00

 

3 ข้อที่ 3 . เพื่อให้ทารกทุกคนมีการเจริญเติบโต และพัฒนาการดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ทำให้เป็นผู้ที่สามารถ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : 3.ทารกทุกคนมีการเจริญเติบโต และพัฒนาการดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ทำให้เป็นผู้ที่สามารถ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 65
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีการเตรียมพร้อมก่อนแต่งงานและก่อนมีบุตร (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ มีความตระหนักถึงความสำคัญ และมีความรู้ทางโภชนาการที่ถูกต้อง เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพดี คลอดทารกที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า 2500 กรัม ทารกมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ (3) ข้อที่ 3 . เพื่อให้ทารกทุกคนมีการเจริญเติบโต และพัฒนาการดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ทำให้เป็นผู้ที่สามารถ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ และแกนนำ อสม. (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่ พ่อแม่ (3) กิจกรรมเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสรืมสุขภาพหญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3353-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศุภญา ทองขาวเผือก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด