กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการถนนอาหารปลอดภัย Street food สงขลาแต่แรก ถนนคนเดิน เพลินกินของหรอย ย้อนรอยบ่อยาง เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวลเจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน

ชื่อโครงการ โครงการถนนอาหารปลอดภัย Street food สงขลาแต่แรก ถนนคนเดิน เพลินกินของหรอย ย้อนรอยบ่อยาง เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7250-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการถนนอาหารปลอดภัย Street food สงขลาแต่แรก ถนนคนเดิน เพลินกินของหรอย ย้อนรอยบ่อยาง เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการถนนอาหารปลอดภัย Street food สงขลาแต่แรก ถนนคนเดิน เพลินกินของหรอย ย้อนรอยบ่อยาง เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการถนนอาหารปลอดภัย Street food สงขลาแต่แรก ถนนคนเดิน เพลินกินของหรอย ย้อนรอยบ่อยาง เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมให้ปี พ.ศ.2558 เป็นปีแห่งการท่องเที่ยววิถีไทย และได้กำหนดให้มีการบูรณาการดำเนินการร่วมกัน เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมปีท่องเที่ยววิถีไทย ดังกล่าว โดยเฉพาะในเรื่องดูแลบริหารจัดการด้านความสะอาด สุขอนามัยและสถานบริการในแหล่งท่องเที่ยว ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย
เทศบาลนครสงขลา ได้ดำเนินการส่งเสริม และสนับสนุน การดำเนินกิจกรรมด้านอาหารปลอดภัยมาอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับภายในเขตเทศบาล มีสถานที่ท่องเที่ยวตามธรรมชาติหลายแห่ง ในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวและประชาชนเข้ามาเยี่ยมชมหลายแสนคน หนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวและเป็นแหล่งจับจ่ายใช้สอยอาหารเพื่อมาบริโภคและเที่ยวชมย่านเมืองเก่าก็จะเป็นบริเวณถนนจะนะ ซึ่งเทศบาลนครสงขลา ได้จัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวภายใต้ชื่อโครงการสงขลาแต่แรก “ถนนคนเดิน เพลินกินของหรอย ย้อนรอยบ่อยาง” มาตั้งแต่ปีพ.ศ.2553 จนถึงปัจจุบัน ดังนั้น เพื่อให้ถนนสายดังกล่าวเป็น ถนนอาหารปลอดภัย (Street Food) ของจังหวัดสงขลา ให้ได้ตามหลักเกณฑ์มาตรฐาน ถนนอาหารปลอดภัย ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดให้มีโครงการถนนอาหารปลอดภัย (Street Food) สงขลาแต่แรก “ถนนคนเดิน เพลินกินของหรอย ย้อนรอยบ่อยาง” ประจำปี พ.ศ.2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริม พัฒนาการประกอบการจำหน่ายอาหารบนถนนอาหารปลอดภัย ให้ได้มาตรฐาน และลดความเสี่ยงในการบริโภคอาหารของประชาชนและนักท่องเที่ยว
  2. ๒. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหาร เจ้าหน้าที่ และภาคีเครือข่ายด้านอาหารปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. การจำหน่ายอาหารบนถนนอาหารปลอดภัย ได้มาตรฐาน ประชาชนและนักท่องเที่ยวสามารถบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ และปลอดภัย ๒. ผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหาร เจ้าหน้าที่ และภาคีเครือข่ายด้านอาหารปลอดภัย มีศักยภาพในการพัฒนากิจกรรมด้านความปลอดภัยด้านอาหาร


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๓.๑ จัดระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ คณะกรรมการผู้ประกอบการในถนนสายอาหารปลอดภัย ๓ ครั้ง จำนวน ๓๐ คน   ๓.๒ จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายผู้ประกอบการถนนอาหารปลอดภัย จำนวน ๑๕๐ คน ๓.๓ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการภาคีเครือข่ายแกนนำผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร จำนวน ๕๐ คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อส่งเสริม พัฒนาการประกอบการจำหน่ายอาหารบนถนนอาหารปลอดภัย ให้ได้มาตรฐาน และลดความเสี่ยงในการบริโภคอาหารของประชาชนและนักท่องเที่ยว
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในถนนอาหารปลอดภัย มีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาน ประกอบการด้านอาหารได้มากกว่าร้อยละ 80
    0.00 100.00

     

    2 ๒. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหาร เจ้าหน้าที่ และภาคีเครือข่ายด้านอาหารปลอดภัย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริม พัฒนาการประกอบการจำหน่ายอาหารบนถนนอาหารปลอดภัย ให้ได้มาตรฐาน และลดความเสี่ยงในการบริโภคอาหารของประชาชนและนักท่องเที่ยว (2) ๒. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ ผู้สัมผัสอาหาร เจ้าหน้าที่ และภาคีเครือข่ายด้านอาหารปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการถนนอาหารปลอดภัย Street food สงขลาแต่แรก ถนนคนเดิน เพลินกินของหรอย ย้อนรอยบ่อยาง เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L7250-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวลเจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด