โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวลเจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในปัจจัยสี่ อาหารที่ดี สะอาด ปลอดภัย นำมาซึ่งสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ปัจจุบันสังคมเมืองผู้คนใช้ชีวิตอย่างเร่งรีบเนื่องจากการแข่งขันกับเวลาและผู้คน อาหารที่บริโภคจึงนับว่ามีความสำคัญ ตลาดสดเป็นสถานที่จำหน่ายอาหารพื้นฐานที่ประชาชนไปจับจ่ายในการนำมาประกอบ ปรุงอาหาร หรือเพื่อนำไปจำหน่ายตามแหล่งอื่นต่อไป การสะสมสินค้าต่าง ๆ เป็นจำนวนมากโดยเฉพาะอาหารสดไม่ว่าจะเป็น ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์สดทุกชนิด ตลาดที่ไม่สะอาด ไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด อาจจะเป็นแหล่งที่อยู่ของแมลงและสัตว์นำโรค เช่น แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อต่าง ๆตลาดจึงนับว่าเป็นตัวแปรสำคัญที่กำหนดความปลอดภัยของอาหารที่มีต่อผู้บริโภค ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องล้างตลาดให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ทั้งนี้เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรคจากสิ่งแวดล้อมลงสู่อาหาร ซึ่งในเขตเทศบาลนครสงขลา มีตลาดสดที่มีโครงสร้าง จำนวน ๓ แห่ง กำหนดให้เป็นตลาดสดประเภทที่ ๑ ตามประกาศกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด คือ ตลาดสดรถไฟ ตลาดสดทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และตลาดสดเคหะ จากการดำเนินการโครงการตลาดสดส่งเสริมสุขภาพ ในปีที่ผ่านมาก และจากการตรวจประเมินของคณะกรรมการตรวจประเมินตลาดสด พบว่าตลาดสดภายในเขตเทศบาลนครสงขลา จะต้องได้รับการปรับปรุง พัฒนาในส่วนของการล้างตลาดให้ถูกสุขลักษณะอีกทั้งเพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุนให้เจ้าของตลาด และผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการปรับปรุง และพัฒนาตลาดสดให้ถูกสุขลักษณะ ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ ต่อไป
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล ประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อกระตุ้นให้ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
- ๒. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
- ๓. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนและป้องกันโรคติดต่อในระบบทางเดินอาหาร ให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จากตลาดที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๙.๑. เจ้าของตลาด และผู้จำหน่ายสินค้าภายในตลาดสด มีความตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดสดตามหลักสุขาภิบาล
๙.๒. ประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และป้องกันโรคติดต่อในระบบทางเดินอาหาร จากตลาดสดที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๓.๑ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการตลาดรถไฟ จำนวน ๕๐ คน
๓.๒ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการตลาดทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จังหวัดสงขลา จำนวน ๕๐ คน
๓.๓ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการตลาดเคหะ จำนวน ๕๐ คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อกระตุ้นให้ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
ตัวชี้วัด : ๑. ตลาดสดภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้รับการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
0.00
85.00
2
๒. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
ตัวชี้วัด : ๒. ผู้ประกอบการตลาดสดภายในเขตเทศบาลนครสงขลา มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
0.00
85.00
3
๓. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนและป้องกันโรคติดต่อในระบบทางเดินอาหาร ให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จากตลาดที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อกระตุ้นให้ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล (2) ๒. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล (3) ๓. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนและป้องกันโรคติดต่อในระบบทางเดินอาหาร ให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จากตลาดที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวลเจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวลเจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในปัจจัยสี่ อาหารที่ดี สะอาด ปลอดภัย นำมาซึ่งสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ปัจจุบันสังคมเมืองผู้คนใช้ชีวิตอย่างเร่งรีบเนื่องจากการแข่งขันกับเวลาและผู้คน อาหารที่บริโภคจึงนับว่ามีความสำคัญ ตลาดสดเป็นสถานที่จำหน่ายอาหารพื้นฐานที่ประชาชนไปจับจ่ายในการนำมาประกอบ ปรุงอาหาร หรือเพื่อนำไปจำหน่ายตามแหล่งอื่นต่อไป การสะสมสินค้าต่าง ๆ เป็นจำนวนมากโดยเฉพาะอาหารสดไม่ว่าจะเป็น ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์สดทุกชนิด ตลาดที่ไม่สะอาด ไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด อาจจะเป็นแหล่งที่อยู่ของแมลงและสัตว์นำโรค เช่น แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อต่าง ๆตลาดจึงนับว่าเป็นตัวแปรสำคัญที่กำหนดความปลอดภัยของอาหารที่มีต่อผู้บริโภค ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องล้างตลาดให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ทั้งนี้เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรคจากสิ่งแวดล้อมลงสู่อาหาร ซึ่งในเขตเทศบาลนครสงขลา มีตลาดสดที่มีโครงสร้าง จำนวน ๓ แห่ง กำหนดให้เป็นตลาดสดประเภทที่ ๑ ตามประกาศกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด คือ ตลาดสดรถไฟ ตลาดสดทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และตลาดสดเคหะ จากการดำเนินการโครงการตลาดสดส่งเสริมสุขภาพ ในปีที่ผ่านมาก และจากการตรวจประเมินของคณะกรรมการตรวจประเมินตลาดสด พบว่าตลาดสดภายในเขตเทศบาลนครสงขลา จะต้องได้รับการปรับปรุง พัฒนาในส่วนของการล้างตลาดให้ถูกสุขลักษณะอีกทั้งเพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุนให้เจ้าของตลาด และผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการปรับปรุง และพัฒนาตลาดสดให้ถูกสุขลักษณะ ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ ต่อไป กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล ประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อกระตุ้นให้ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
- ๒. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
- ๓. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนและป้องกันโรคติดต่อในระบบทางเดินอาหาร ให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จากตลาดที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๙.๑. เจ้าของตลาด และผู้จำหน่ายสินค้าภายในตลาดสด มีความตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดสดตามหลักสุขาภิบาล
๙.๒. ประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และป้องกันโรคติดต่อในระบบทางเดินอาหาร จากตลาดสดที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๓.๑ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการตลาดรถไฟ จำนวน ๕๐ คน ๓.๒ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการตลาดทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จังหวัดสงขลา จำนวน ๕๐ คน ๓.๓ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการตลาดเคหะ จำนวน ๕๐ คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อกระตุ้นให้ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล ตัวชี้วัด : ๑. ตลาดสดภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้รับการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล |
0.00 | 85.00 |
|
|
2 | ๒. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล ตัวชี้วัด : ๒. ผู้ประกอบการตลาดสดภายในเขตเทศบาลนครสงขลา มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล |
0.00 | 85.00 |
|
|
3 | ๓. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนและป้องกันโรคติดต่อในระบบทางเดินอาหาร ให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จากตลาดที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อกระตุ้นให้ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล (2) ๒. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสด ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล (3) ๓. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนและป้องกันโรคติดต่อในระบบทางเดินอาหาร ให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย จากตลาดที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอุดมลักษณ์บุญนวลเจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......