โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน ”
ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-61-1-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8408-61-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศโดยประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรคสูงเป็นอันดับที่ 18จาก 22 ประเทศที่มีปัญหาการแพร่ระบาดวัณโรคสูงของโลกในขณะที่ผลการดำเนินงานความสำเร็จในการรักษาค่อนข้างต่ำผู้ป่วยขาดความรู้และบางส่วนในชุมชนยังไม่ได้รับการวินิจฉัย การรักษาล่าช้า มารับบริการที่โรงพยาบาลเมื่อมีอาการมากแล้วและเสียชีวิตในที่สุด บางรายได้รับการรักษาไม่ต่อเนื่อง ขาดการรักษา อาจทำให้เกิดการดื้อยาและมีแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในชุมชน
จากการดำเนินงานวัณโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มขึ้นทุกปี จากข้อมูล 3 ปีย้อนหลัง พบว่า ปี 2558 มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค 2 ราย ปี 2559 มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค 6 ราย และปี 2560 มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค 8 ราย ซึ่งจะเห็นได้ว่าในพื้นที่ตำบลแป-ระ มีแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เพิ่มขึ้นในทุกๆปี และปัญหาที่พบในผู้ป่วยวัณโรคคือ ผู้ป่วยเมื่อได้รับการรักษาวัณโรคแล้ว ผู้ป่วยจะรู้สึกว่าตัวเองหายแล้วหยุดการกินยา เมื่อผู้ป่วยหยุดยาก็จะทำให้เกิดการดื้อยา และแพร่เชื้อวัณโรคไปยังผู้อื่นต่อไป
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อสร้างสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน เพื่อเป็นพี่เลี้ยงในการกำกับการกินยา ให้ผู้ป่วยวัณโรคใด้เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ โดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง ( DOT) โดยแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน และค้นหาผู้ป่วยสงสัยวัณโรคไห้ได้รับการรักษาที่เร็วขึ้น และสามารถป้องกัน/ควบคุมการแพร่กระจายของโรคในชุมชนได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ โดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT)
- 2. เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกัน
- 3. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้ป่วยเป็นซ้ำ ได้รับการรักษาครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค การควบคุมกำกับการกินยา และการดูแลติดตามผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกันแก่แกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชนและผู้สัมผัสร่วมบ้านเดียวกันกับผู้ป่วยวัณโรค
- 2. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT โดยทีมแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
- 3. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) โดยแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
- ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรคได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกัน
- ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้ป่วยเป็นซ้ำได้รับการรักษาครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 2. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT โดยทีมแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
วันที่ 1 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT โดยทีมแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมและรักษาโดยมีพี่เลี้ยง คิดเป็นร้อยละ100
0
0
2. 3. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ)
วันที่ 1 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ)ได้รับการคัดกรอง ร้อยละ100
0
0
3. 1. อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค การควบคุมกำกับการกินยา และการดูแลติดตามผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกันแก่แกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชนและผู้สัมผัสร่วมบ้านเดียวกันกับผู้ป่วยวัณโรค
วันที่ 31 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
สำรวจกลุ่มเป้าหมาย
อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค
คัดกรองวัณโรค
ติดตามเยี่ยมผู้ป่วย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการควบคุมการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) ร้อยละ 100
ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวร้อยละ80
อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ85
70
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ โดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT)
ตัวชี้วัด : - ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) โดยแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน ร้อยละ 100
40.00
2
2. เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกัน
ตัวชี้วัด : - ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว ที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกันโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
20.00
3
3. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้ป่วยเป็นซ้ำ ได้รับการรักษาครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด
ตัวชี้วัด : - ตัวชี้วัดความสำเร็จ อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ
ร้อยละ 85
45.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ โดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) (2) 2. เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกัน (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้ป่วยเป็นซ้ำ ได้รับการรักษาครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค การควบคุมกำกับการกินยา และการดูแลติดตามผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกันแก่แกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชนและผู้สัมผัสร่วมบ้านเดียวกันกับผู้ป่วยวัณโรค (2) 2. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT โดยทีมแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน (3) 3. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-61-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน ”
ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-61-1-3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8408-61-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศโดยประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรคสูงเป็นอันดับที่ 18จาก 22 ประเทศที่มีปัญหาการแพร่ระบาดวัณโรคสูงของโลกในขณะที่ผลการดำเนินงานความสำเร็จในการรักษาค่อนข้างต่ำผู้ป่วยขาดความรู้และบางส่วนในชุมชนยังไม่ได้รับการวินิจฉัย การรักษาล่าช้า มารับบริการที่โรงพยาบาลเมื่อมีอาการมากแล้วและเสียชีวิตในที่สุด บางรายได้รับการรักษาไม่ต่อเนื่อง ขาดการรักษา อาจทำให้เกิดการดื้อยาและมีแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในชุมชน จากการดำเนินงานวัณโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มขึ้นทุกปี จากข้อมูล 3 ปีย้อนหลัง พบว่า ปี 2558 มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค 2 ราย ปี 2559 มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค 6 ราย และปี 2560 มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค 8 ราย ซึ่งจะเห็นได้ว่าในพื้นที่ตำบลแป-ระ มีแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เพิ่มขึ้นในทุกๆปี และปัญหาที่พบในผู้ป่วยวัณโรคคือ ผู้ป่วยเมื่อได้รับการรักษาวัณโรคแล้ว ผู้ป่วยจะรู้สึกว่าตัวเองหายแล้วหยุดการกินยา เมื่อผู้ป่วยหยุดยาก็จะทำให้เกิดการดื้อยา และแพร่เชื้อวัณโรคไปยังผู้อื่นต่อไป ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อสร้างสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน เพื่อเป็นพี่เลี้ยงในการกำกับการกินยา ให้ผู้ป่วยวัณโรคใด้เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ โดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง ( DOT) โดยแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน และค้นหาผู้ป่วยสงสัยวัณโรคไห้ได้รับการรักษาที่เร็วขึ้น และสามารถป้องกัน/ควบคุมการแพร่กระจายของโรคในชุมชนได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ โดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT)
- 2. เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกัน
- 3. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้ป่วยเป็นซ้ำ ได้รับการรักษาครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค การควบคุมกำกับการกินยา และการดูแลติดตามผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกันแก่แกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชนและผู้สัมผัสร่วมบ้านเดียวกันกับผู้ป่วยวัณโรค
- 2. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT โดยทีมแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
- 3. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) โดยแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน
- ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรคได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกัน
- ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้ป่วยเป็นซ้ำได้รับการรักษาครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 2. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT โดยทีมแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน |
||
วันที่ 1 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT โดยทีมแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมและรักษาโดยมีพี่เลี้ยง คิดเป็นร้อยละ100
|
0 | 0 |
2. 3. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ) |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ)ได้รับการคัดกรอง ร้อยละ100
|
0 | 0 |
3. 1. อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค การควบคุมกำกับการกินยา และการดูแลติดตามผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกันแก่แกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชนและผู้สัมผัสร่วมบ้านเดียวกันกับผู้ป่วยวัณโรค |
||
วันที่ 31 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำสำรวจกลุ่มเป้าหมาย อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค คัดกรองวัณโรค ติดตามเยี่ยมผู้ป่วย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการควบคุมการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) ร้อยละ 100 ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวร้อยละ80 อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ85
|
70 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ โดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) ตัวชี้วัด : - ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) โดยแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน ร้อยละ 100 |
40.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกัน ตัวชี้วัด : - ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว ที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกันโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข |
20.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้ป่วยเป็นซ้ำ ได้รับการรักษาครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด ตัวชี้วัด : - ตัวชี้วัดความสำเร็จ อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 85 |
45.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ โดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) (2) 2. เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกัน (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้ป่วยเป็นซ้ำ ได้รับการรักษาครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค การควบคุมกำกับการกินยา และการดูแลติดตามผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกันแก่แกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชนและผู้สัมผัสร่วมบ้านเดียวกันกับผู้ป่วยวัณโรค (2) 2. ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธี DOT โดยทีมแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน (3) 3. คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง (ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วย HIV กลุ่มอื่นๆ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-61-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......