กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง


“ โครงการคนทุ่งบุหลังรักสุขภาพ ปลอดโฟม ปลอดน้ำมันทอดซ้ำ ”

ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มแปรรูปอาหารทะเลบ้านมะหงัง

ชื่อโครงการ โครงการคนทุ่งบุหลังรักสุขภาพ ปลอดโฟม ปลอดน้ำมันทอดซ้ำ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5292-02-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 15 กุมภาพันธ์ 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคนทุ่งบุหลังรักสุขภาพ ปลอดโฟม ปลอดน้ำมันทอดซ้ำ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคนทุ่งบุหลังรักสุขภาพ ปลอดโฟม ปลอดน้ำมันทอดซ้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคนทุ่งบุหลังรักสุขภาพ ปลอดโฟม ปลอดน้ำมันทอดซ้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5292-02-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2561 - 15 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,032.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมในยุคโลกาภิวัตน์ ทำให้ผู้คนในสังคมต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อความอยู่รอด การใช้ชีวิตของผู้คนดำเนินไปอย่างเร่งรีบและให้ความสำคัญกับความสะดวกจนบางครั้งลืมมองถึงอันตรายที่อยู่รอบตัว การให้ความสำคัญกับความสะดวก ประหยัดเวลาจนกระทั่งละเลยความใส่ใจ เรื่องพิษภัยที่อยู่รอบตัว ที่เห็นได้ชัดเจนอย่างหนึ่งคือ กล่องโฟมบรรจุอาหารซึ่งเป็นสิ่งที่ตอบสนองชีวิตที่เร่งรีบได้อย่างลงตัว จนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่ขณะเดียวกันก็มีอันตรายที่แฝงมากับกล่องโฟมที่บรรจุอาหาร ในชีวิตประจำวันของเราเองต้องพบเจอกับกล่องโฟมบรรจุอาหาร เช่น ข้าวผัด ข้าวกะเพราไข่ขาว หรือแม้แต่ขนมโตเกียว ขนมครกร้อนๆ ถ้าสังเกตให้ดีจะเห็นกล่องโฟมบางประเภท มีการระบุเตือนไว้ มีการระบุเตือนอย่างชัดเจนว่า “ไม่ควรนำมาใส่อาหาร” หรือ “ไม่ควรนำมาใส่ของร้อน” ซึ่งอันตรายกับการใช้กล่องโฟมอย่างผิดประเภทเป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้คนไทยป่วยเป็นมะเร็งมากขึ้นทุกปีและปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกัน คือ กล่องโฟม ไม่สามารถ ย่อยสลายได้หรือหากย่อยสลายได้ก็ต้องใช้ระยะเวลานาน ซึ่งทำให้เกิดปัญหาภาวะโลกร้อนหรือ ปัญหามลพิษจากขยะล้นเมือง และพิษรอบตัวอีกอย่างหนึ่งที่หลายคนหลีกเลี่ยงไม่ได้ การใช้น้ำมันทอดซ้ำในการประกอบอาหาร แม้กระทั่งบางครอบครัวนำน้ำมันที่ใช้แล้วมาทอดซ้ำ เพราะเห็นว่าประหยัดค่าใช้จ่ายหรือคิดว่าเสียดายน้ำมันที่ทอดครั้งเดียว จึงนำน้ำมันเหล่านั้นกลับมาทอดซ้ำอีกหลายๆ ครั้ง จนลักษณะทางกายภาพของน้ำมันหรือคุณลักษณะของอาหารเสียไป จึงเปลี่ยนน้ำมันใหม่ผสมลงไปทอดอาหารซ้ำๆต่อไป การเสื่อมสภาพของน้ำมันจากการทอดเกิดสารประกอบที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย คือ “สารโพลาร์” ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของโรคความดันโลหิตสูงหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคมะเร็ง ซึ่งในน้ำมันสำหรับทอดอาหาร กำหนดให้มีปริมาณสารโพลาร์ ไม่เกินร้อยละ 25 ของน้ำหนัก จากปัญหาดังกล่าว องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งบุหลัง จึงเล็งเห็นความสำคัญ และตระหนักถึงพิษภัยที่ตามมาจึงได้จัดทำโครงการคนทุ่งบุหลังรักสุขภาพ ปลอดโฟม ปลอดน้ำมันทอดซ้ำขึ้นทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนผู้บริโภคและผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในตำบลทุ่งบุหลัง ได้ตระหนักถึงอันตรายจากกล่องโฟมที่ใช้บรรจุอาหารและน้ำมันทอดซ้ำ
ให้ประชาชนมีสุขภาพดีต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านค้า แกนนำในหมู่บ้านและผู้บริโภคเกิดมีความรู้ และเข้าใจถึงอันตรายของกล่อมโฟมและน้ำมันทอดซ้ำ
  2. 2. เพื่อให้เกิดหมู่บ้านต้นแบบลด ละ เลิก การใช้โฟมและน้ำมันทอดซ้ำ
  3. 3. เพื่อให้ร้านจำหน่ายอาหารในชุมชน เป็นร้านค้าที่ปลอดน้ำมันทอดซ้ำและกล่องโฟม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านค้า แกนนำในหมู่บ้าน และผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าใจถึงพิษภัยของกล่องโฟมและน้ำมันทอดซ้ำ
    2. ผู้นำชุมชนและแกนนำในหมู่บ้านสามารถเป็นบุคคลต้นแบบในการลด ละ เลิก การใช้กล่องโฟมและน้ำมันทอดซ้ำ
    3. ร้านจำหน่ายอาหารในชุมชน เป็นร้านค้าที่ปลอดน้ำมันทอดซ้ำและกล่องโฟม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านค้า แกนนำในหมู่บ้านและผู้บริโภคเกิดมีความรู้ และเข้าใจถึงอันตรายของกล่อมโฟมและน้ำมันทอดซ้ำ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2. เพื่อให้เกิดหมู่บ้านต้นแบบลด ละ เลิก การใช้โฟมและน้ำมันทอดซ้ำ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 3. เพื่อให้ร้านจำหน่ายอาหารในชุมชน เป็นร้านค้าที่ปลอดน้ำมันทอดซ้ำและกล่องโฟม
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านค้า แกนนำในหมู่บ้านและผู้บริโภคเกิดมีความรู้ และเข้าใจถึงอันตรายของกล่อมโฟมและน้ำมันทอดซ้ำ  (2) 2. เพื่อให้เกิดหมู่บ้านต้นแบบลด ละ เลิก การใช้โฟมและน้ำมันทอดซ้ำ    (3) 3. เพื่อให้ร้านจำหน่ายอาหารในชุมชน เป็นร้านค้าที่ปลอดน้ำมันทอดซ้ำและกล่องโฟม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคนทุ่งบุหลังรักสุขภาพ ปลอดโฟม ปลอดน้ำมันทอดซ้ำ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 61-L5292-02-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กลุ่มแปรรูปอาหารทะเลบ้านมะหงัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด