กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการบ้านบ่อทรายในใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ 10 ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
น.ส.กาญจนาบุญประสพ

ชื่อโครงการ โครงการบ้านบ่อทรายในใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ 10

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3346-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านบ่อทรายในใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ 10 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านบ่อทรายในใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ 10



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีการกินผักและผลไม้สดอย่างน้อยวันละ ครึ่งกิโลกรัมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20  2. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน เพื่ิมขึ้นร้อยละ 20 3. เพื่อให้ประชาชนมีการปฎิบัติธรรมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไป และดำเนินการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย คือประชาชนในพื้นที่ (2) จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) กิจกรรมเดิน วิ่ง ปั่น จำนวน 3 ครั้ง  วันที่ 8 เมย /วันที่ 6 พค/วันที่ 10 มิย 61 (4) กิจกรรมเข้าวัดพัฒนาคุณธรรม (5) กิจกรรมประกวดปิ่นโตเพื่อสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจำปี  จำนวน 8 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)  กิจกรรมที่เกิดขึ้นทั้ง 5 กิจกรรม มีการดำเนินการทุกปี กิจกรรมที่ดำเนินการมุ่งเน้นให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรอง 3 เรื่อง คือ เบาหวาน ความดัน และสารพิษตกค้าง ซึ่งผลที่ได้ มี 3 กลุ่ม กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มปกติ ซึ่ง กลุ่มปกติมาก่อนจะเข้าสู่กลุ่มเสียง กลุ่มเสี่ยงบางคนเข้าสู่กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยยังคงไม่ลดระดับลง  ซึ่งทั้งหมดนี้ ต้องทำซ้ำๆ บ่อยๆ เน้นยำ้กันบ่อย เพราะประชาชนยังไม่รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากนัก โครงการจบก็จบและโครงการจึงยังเป็นกิจกรรมเดิมๆ ไม่มีนวตกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น กิจกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น ซึ่งอนาคตเป็นสิ่งที่ เทศบาล หรือ รพสต.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องร่วมกันบูรณาการ หาแนวทางใหม่ๆ เพื่อให้ได้ผลเป็นรูปธรรมมากกว่านี้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปราถนา การมีสุขภาพดีมิได้หมายถึงเพียงการมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพเท่านั้น ต้องขึ้นอยู่กับประชาชนรู้จักการดูแลสุขภาพของตนะเอง เพื่อให้สุขภาพที่แข็งแรงอยู่เสมอเพราะโรคบางโรค เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็งหัวใจและหลอดเลือดสาเหตุ เกิดมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง เช่น ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งสามารถป้องกันได้ด้วยการออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ดีกว่าการรอให้เกิดการเจ็บป่วยแล้วรักษา จะทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณในการดูแบรักษาจำนวนมาก การที่คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดี ดังนั้น ประชาชนจึงควรมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ตนเองมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง   จากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนหมู่ที่ 10 บ้านบ่อทรายใน ตำบลบ้านพร้าว ปี 2560 โดยอสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พบว่าประชาชนป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 24 คน โรคเบาหวาน 15 คน และจากการคัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึนไปของหมู่ที่ 10 บ้านบ่อทรายใน จำนวน 236 คนเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 41.94 เสี่ยงต่อโรคเบาหวานจำนวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ 22.46 ซึ่งสาเหตุเกิดจากการขาดการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง พบว่ามีพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที ร้อยละ 35.42 พฤติกรรมการกินผักและผลไม่สดครึ่งกิโล ต่อวันเพียงร้อยละ 44.45     หากประชาชนในหมู่ที่ 10 บ้านบ่อทรายใน ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพก็จะส่งผลให้ประชาชนเจ็บป่วยพิการด้วยโรคไม่ติดต่อต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ต้องสูญเสียรายได้ คุณภาพชีวิตน้อยลง ดังนั้นทางหมู่บ้านจึงได้จัดทำประชาคม เพื่อหาแนวทางร่วมกันในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ ลดโรคต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสุง โรคเบาหวาน โรคอ้วน ฯลฯ ให้ลดลงหรือให้หมดไปจากหมู่บ้าน คณะทำงานหมู่ย้านจึงมีมัติเลือกปัญหาด้านสุขภาพในการแก้ปัญหา จึงได้จัดทำโครงการบ้านบ่อทรายในใส่ใจสุขภาพ ปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีการกินผักและผลไม้สดอย่างน้อยวันละ ครึ่งกิโลกรัมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน เพื่ิมขึ้นร้อยละ 20 3. เพื่อให้ประชาชนมีการปฎิบัติธรรมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไป และดำเนินการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย คือประชาชนในพื้นที่
  2. จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. กิจกรรมประกวดปิ่นโตเพื่อสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 8 ครั้ง
  4. กิจกรรมเดิน วิ่ง ปั่น จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 8 เมย /วันที่ 6 พค/วันที่ 10 มิย 61
  5. กิจกรรมเข้าวัดพัฒนาคุณธรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประาชาชนสุขภาพดี ลดอัตราการป่วย รายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 2.4  และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไป และดำเนินการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย คือประชาชนในพื้นที่

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ  กำหนดวันให้ประชาชนมาคัดกรอง ณ หอประชุมหมู่ที่ 10  หลังจากนั้น ค้นหาเป้าหมายตามบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับการคัดกรอง  เบาหวาน  ความดัน และ สารเคมีตกค้าง    และผลที่ได้  มี 3 กลุ่ม  กลุ่มผู้ป่วย  กลุ่มเสี่ยง  กลุ่มปกติ  เพื่อนำกลุ่ม เสียง กลุ่มป่วยเขาอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

150 0

2. กิจกรรมประกวดปิ่นโตเพื่อสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 8 ครั้ง

วันที่ 31 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชาชนในพื้นที่นำปรุงอาหาร แล้วนำปิ่นโตมาประกวด ณ วัดโดนคลาน มีคณะกรรมการ ตรวจ ชิม  มุ้งเน้นการทำปิ่นโตถวายพระ และทำอาหารรับประทานเอง เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนให้ความสนใจ  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  82  คน

 

50 0

3. จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

วันที่ 7 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่ม ป่วย กลุ่มเสี่ยง เข้ารับการฝึกอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  จำนวน 1 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วม อบรม จำนวน 75 คน

 

70 0

4. กิจกรรมเดิน วิ่ง ปั่น จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 8 เมย /วันที่ 6 พค/วันที่ 10 มิย 61

วันที่ 8 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดให้มีการเดิน วิ่ง ปั่น จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 8 เมย  /วันที่ 6 พค/วันที่ 10 มิย 61  วิ่งเสร็จก็รับประทานอาหารร่วมกัน  จำนวน 3 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเดิน วิ่ง ปั่น จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 8 เมย  /วันที่ 6 พค/วันที่ 10 มิย 61  วิ่งเสร็จก็รับประทานอาหารร่วมกัน  จำนวน 3 ครั้ง    มีผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 1    55 คน  ครั้งที่  2  64  คน  ครั้งที่ 3 จำนวน 63  คน

 

50 0

5. กิจกรรมเข้าวัดพัฒนาคุณธรรม

วันที่ 29 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดกิจกรรมให้เข้าวัดฟังธรรม  ในช่วงเช้า    มีผู้เข้าร่วมฟังธรรม จำนวน 55 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม  55 คน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประชาชนในหมู่บ้านมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการออกกำลังกาย การบริโภคผักและผลไม้เพิ่มมากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีการกินผักและผลไม้สดอย่างน้อยวันละ ครึ่งกิโลกรัมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน เพื่ิมขึ้นร้อยละ 20 3. เพื่อให้ประชาชนมีการปฎิบัติธรรมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีสุขภาพดี 2. สามารถลดอัตราการป่วยรายใหม่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ไม่เกินร้อยละ 2.4 3. สถานะสุขภาพ ความดัน /เบาหวาน สารเคมีตกค้างในเลือด ดีขึ้นหลังดำเนินดครงการร้อยละ 70 4.ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าวัดปฎิบัติธรรมและส่งเสริมการจัดปิ่นโตเพื่อสุขภาพ
41.94 70.00 60.00

ประชาชนยังคงบริโภคผักไม่ได้ตามเป้าหมาย/ ประชาชนยังไม่ค่อยออกกำลังกาย /ประชาชนมีการปฎิบัติธรรมได้ แต่การบริโภคจัดทำเมนูอาหารไม่แน่ใจว่าได้ปรับเปลี่ยนมากน้อยเพียงใด แต่จากที่ดำเนินการกิจกรรมที่ผ่านมา เป้าหมายยังคงเดิมและมีมากขึ้น จึงมองว่าประชาชนยังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้บางส่วนถึงน้อยมาก และยังคงใช้ชีวิตปกติ โครงการจบแล้วก็จบ มีบางคนซึ่งเล้กน้อยที่รู้จักปรับเปลี่ยนตัวเอง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีการกินผักและผลไม้สดอย่างน้อยวันละ ครึ่งกิโลกรัมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20  2. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน เพื่ิมขึ้นร้อยละ 20 3. เพื่อให้ประชาชนมีการปฎิบัติธรรมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไป และดำเนินการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย คือประชาชนในพื้นที่ (2) จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) กิจกรรมเดิน วิ่ง ปั่น จำนวน 3 ครั้ง  วันที่ 8 เมย /วันที่ 6 พค/วันที่ 10 มิย 61 (4) กิจกรรมเข้าวัดพัฒนาคุณธรรม (5) กิจกรรมประกวดปิ่นโตเพื่อสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจำปี  จำนวน 8 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)  กิจกรรมที่เกิดขึ้นทั้ง 5 กิจกรรม มีการดำเนินการทุกปี กิจกรรมที่ดำเนินการมุ่งเน้นให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรอง 3 เรื่อง คือ เบาหวาน ความดัน และสารพิษตกค้าง ซึ่งผลที่ได้ มี 3 กลุ่ม กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มปกติ ซึ่ง กลุ่มปกติมาก่อนจะเข้าสู่กลุ่มเสียง กลุ่มเสี่ยงบางคนเข้าสู่กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยยังคงไม่ลดระดับลง  ซึ่งทั้งหมดนี้ ต้องทำซ้ำๆ บ่อยๆ เน้นยำ้กันบ่อย เพราะประชาชนยังไม่รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากนัก โครงการจบก็จบและโครงการจึงยังเป็นกิจกรรมเดิมๆ ไม่มีนวตกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น กิจกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น ซึ่งอนาคตเป็นสิ่งที่ เทศบาล หรือ รพสต.หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องร่วมกันบูรณาการ หาแนวทางใหม่ๆ เพื่อให้ได้ผลเป็นรูปธรรมมากกว่านี้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบ้านบ่อทรายในใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ 10

รหัสโครงการ 61-L3346-02-04 ระยะเวลาโครงการ 16 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 กรกฎาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

เช่นการส่งเสริมการออกกำลังกาย ปลูกผักกินเอง การปรับเปลี่ยนตัวเองให้ทำเมนูอาหาร บริโภคผักปลอดสารพิษ

สอบถามโดยตรงจากประชาชน

เน้นย้ำบ่อยๆให้บุคคลดังกล่าวมีความคุ้นชิน และปฎิบัติเป็นปกติในชีวิตประจำวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค เช่น ผัก การปลูกผักกินเอง การทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ กินผักปลอดสารพิษ เพื่อลดสารพิษตกค้าง

เอกสารจากการตรวจคัดกรอง

ตรวจคัดกรอง และกระตุ้นให้ประชาชนรู้ว่าตัวเองอยู่ในกลุ่มไหน เช่น ปกติ อย่าไปอยู่กลุ่มเสี่ยง จากกลุ่มเสี่ยงอย่าไปอยู่กลุ่มป่วย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ส่งเสริมให้ประชาชนในตอนเช้าๆ ออกกำลังกาย ด้วยการ เดิน การปั่น การวิ่ง เพื่อให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง

ดูจากการปฎิบัติจริงในพื้นที่ นำมาวิเคราะห์ ว่าได้ทำอย่างสม่ำเสมอหรือไม่ มีความคุ้นชิน ปรับเปลี่ยนตัวเองได้มากน้อยแค่ไหน

สอบถาม ส่งเสิรม รณรงค์ ให้ประชาชนรักการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

การออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีอารมณ์ดีขึ้น ไม่เครียด ตลอดถึงการให้ประชาชนเข้าวัดฟังธรรม บ่อยๆ ช่วยลดปัญหาต่างๆลงได้

ดูจากการปฎิบัติจริงในพื้นที่ หรือสอบถามจากพระในพื้นที่

ส่งเสริมการออกกำลังกายและปฎิบัติธรรมให้มากขึ้น โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน ควรเน้นการเข้าวัดฟังธรรม เพือปลูกฝัง จริยธรรม คุณธรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ประชาชนสามารถดูแลตัวเองได้เพิ่มขึ้น

ดูจากการปลูกผักในพื้นที่ การดำเนินชีวิตประจำวัน

ส่งเสริมให้ประชาชนดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง เพื่อลดการเจ็บป่วย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่างๆของตัวบุคคล สามารถจัดการได้ด้วยตัวเอง แต่จะต้องเน้นย้ำให้ประชาชนตระหนักถึงโทษ ปัญหา

สังเกตุจากพื้นที่จริงและสอบถามจากประชาชนในพื้นที่ เพื่อกำหนดหรือวางแผนการปฎิบัติงานในอนาคตได้

สังเกตุสอบถามประชาชนเพื่อกำหนดแนวทางและกิจกรรมโครงการในอนาคตเพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงจุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ส่งเสิรมให้ประชาชนลดการซื้อผักผลไม้จากตลาด แต่มุ่งเน้นให้ประชาชนปลูกผัก ผลไมัรับประทานเอง

ดูจากพื้นที่จริง

ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนปลูกผัก ทำปุ๋ยด้วยตัวเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

ส่งเสิรมการปลุกผัก ผลไม้ เหลือจากบริโภคในครัวเรือนสามารถจำหน่ายได้ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย

ดูพื้นทีจริง สอบถามจากประชาชนในพื้นที่

ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนปลูกผัก ผลไม้ และทำปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ในครัวเรือน และเหลือก็นำจำหน่าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

ให้ อสม.ลงพื้นที่สำรวจ คัดกรองสุขภาพประชาชน โดยถ้าประชาชนท่านใดไม่สามารถมาจุดที่คัดกรองได้ ก็จะมีเจ้าหน้าที่ลงไปตรวจคัดกรองถึงบ้าน ทำให้ครอบคลุมทุกคน

เอกสารการตรวจคัดกรอง อยู่ที่ รพสต.ในพื้นที่รับผิดชอบ

ทุกๆเดือนในวันประชุมหมู่บ้าน อสม. ก็จะจัดทีม อสม. เพื่อให้ประชาชนที่สนใจได้วัดความดัน และยังคงมุ่งเน้นเข้าพื่นที่กลุ่มเป้าหมาย โดยลงไปถึงบ้าน ทำงานเชิงรุก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

การการนำวิทยากรมาจากภายนอก และทำงานบูรณาการร่วมกันทุกฝ่ายทุกส่วน ทต.จัดสรรงบประมาณ รพสต.ทำกิจกรรม หรือแกนนำหมู่บ้าน/แกนนำอสม.ทำกิจกรรม  เพื่อแก้ปัญหาให้ถูกจุดในพื้นที่

สอบถาม จากเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง

สร้างเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ภาคีเครื่อข่ายได้ประชุมร่วมกันในการประเมินปัญหา การวางแผน การปฎิบัติ ซึ่งสามารถทำได้โดย แกนนำจะนำเสนอโครงการด้วยตัวเอง ทำให้รู้ปัญหา ได้โครงการที่ต้องการแต่ละหมู่อย่างแท้จริง

มีการประชุม และร่วมกันทำโครงการ เอกสารหลักฐานจากกิจกรรม

สร้างภาคีเครื่อข่าย ให้แต่ละหมู่บ้าน รู้จักคิด รู้ปัญหา รู้จักวางแผน รู้จักทำโครงการ/กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง และสามารถปรึกษา เจ้าหน้าที่ อปท.และ รพสต ได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ได้แกนนำ และสมาชิกร่วมกันคิดร่วมทำร่วมแก้ปัญหา

สอบถามจากแกนนำแต่ละหมู่ หรือสมาชิกแต่ละหมู่

เกิดภาคีเครือข่ายที่มีความรู้เพิ่มขึ้น สามารถบริหารจัดการพื้นที่ของตัวเองได้ รุ้ปัญหา ความต้องการ และแก้ไขปัญหาได้ด้วยตัวเอง และมีการป้อนองค์ความรู้ให้กับภาคีเครือข่าย และกล้าทำงาน กล้าถาม หรือปรึกษากับ เจ้าหน้าที่ อปท.และ เจ้าหน้าที่ รพสต. ทำให้มีทรัพยากรที่เพียงพอในแต่ละหมู่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

แกนนำหมู่บ้านร่วมกับภาคีเครือข่าย รู้ถึงปัญหา จึงจัดทำโครงการดังกล่าวอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีความสนใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

สอบถาม/สัมภาษณ์จากแกนนำหมู่บ้าน อสม ในพื้นที่

แกนนำหมุ่บ้านนำปัญหาในแต่ละปี มาปรับเปลี่ยน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไข ร่วมประชุม โดยทีมงานของแต่ละหมู่บ้านด้วยตัวเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีภาคีเครื่อข่ายแต่ละหมู่บ้านที่เข้มแข็ง ซึ่งสามารถบริหารจัดการ ปัญหาด้วยตัวเองได้

สอบถาม/สัมภาษณ์ แกนนำหมุ่บ้าน อสม ประชาชนในพื้นที่

ผลักดันให้แกนนำ นำปัญหามาร่วมคิด ร่วมแก้ไข ให้ความรู้เพิ่ม เพื่อนำมาใช้ในหมู่บ้านของตัวเอง เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ โครงการใหม่ นวัตกรรมใหม่ๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

แกนนำหมู่บ้าน /อสม. นำข้อมูลจากปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละหมู่บ้าน มาร่วมจัดทำกิจกรรม/โครงการ แล้วมาของบกับ อปท. เพื่อไปจัดการปัญหา

สอบถามแกนนำ /อสม. ของแต่ละหมู่บ้าน

อปท. จัดทำโครงการ อบรมให้ความรู้ และร่วมกับการจัดทำแผน สปสช. เพื่อให้เกิดกิจกรรม โดยให้แกนนำหมู่บ้านเป้นผู้เขียนโครงการ/กิจกรรม เพราะ เขารู้ปัญหาภายในหมู่บ้านดี โดยมี เจ้าหน้าที่ อปท.เป็นพี่เลี้ยง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

สามารถผลักดันให้แกนนำ/อสม. มีความกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก ทำให้เกิดการรวมกลุ่มกันคิด ทำ แก้ปัญหาด้วยตัวเองในแต่ละหมุ่

สอบถาม/สัมภาษณ์ แกนนำ อสม.แต่ละหมู่

ส่งเสริมให้ความรู้ แนวคิด ดูงาน เพื่อนำสิ่งใหม่ๆมาปรับใช้ในหมุ่บ้านของตัวเองได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

แกนนำ /อสม. มีจิตอาสา ที่เข้ามาร่วมกันช่วยเหลือหมู่บ้านของตัวเอง มากขึ้น

สัมภาษณ์/สอบถาม จากแกนนำ /อสม.

กระตุ้นให้เกิดจิตอาสา ที่เข้ามาร่วมแก้ปัญหาให้ประชาชนในหมู่บ้านของตัวเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ภาคีเครือข่าย ช่วยกันกระตุ้นให้ประชาชนรุ้จักใช้ชีวิตอย่างพอเพียง โดยให้ปลูกผัก ผลไม้ ด้วยตัวเอง เพราะในชุมชน บ้านแต่ละหลังมีพื้นที่ ที่สามารถทำได้

สอบถามจากประชาชนโดยตรงหรือ ดูพื้นที่จริง

ส่งเสริมและจัดให้มีกิจกรรม ปลุกผัก ปลูกผลไม้และปุ๋ยหมัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

แกนนำ ประชาชนในพื้นที่ ยังใช้ชีวิตพึ่งพาอาศัยกันและกัน และยังเป็นสังคมกึ่งชนบทและเมือง

ดูพื้นที่จริง

ส่งเสริมหประชาชนรัก สมัครคี ภายในพื้นที่ รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการประชุมกันทุกครั้งเมื่อทำกิจกรรม บนพื้นที่ของการมีส่วนร่วม

สอบถามจากประชาชนทุกหมู่บ้านได้

ส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการจัดทำประชาคมทุกครั้ง และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบ้านบ่อทรายในใส่ใจสุขภาพ หมู่ที่ 10 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3346-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.กาญจนาบุญประสพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด