โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561 ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายเจะอาเรน บินหมัด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5179-02-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง (2) เพื่อส่งต่อสตรีตรวจพบผลเซลล์ปากมดลูกผิดปกติเข้ารับการรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและตรวจคัดกรอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) กลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ 30-60 ปี ที่ไม่เคยตรวจคัดกรองภายใน 5 ปี ไม่เห็นความสำคัญในการเข้าร่วมโครงการ บางคนก็ไม่อยู่บ้านไปทำงานมาเล
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน อัตราการเพิ่มขึ้นของผู้หญิงที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกกำลังพุ่งสูงขึ้นอย่างน่าตกใจ ข้อมูลจากองค์กรอนามัยโลก ระบุว่า มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆของผู้หญิงทั่วโลก มีการประมาณกันไว้ว่า ในทุกๆปี จะพบผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ มากกว่า ๕๐๐,๐๐๐ ราย และครึ่งหนึ่งในจำนวนนั้น จะเสียชีวิตลง ซึ่งนับได้ว่าทุกๆ ๑ ชั่วโมง จะมีผู้หญิงทั่วโลกเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกถึง ๓๐ คน ซึ่งเป็นตัวเลขที่ใกล้เคียงจากอุบัติเหตุเลยทีเดียวในส่วนของประเทศไทยเอง แต่ละปี จะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ราย และเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกประมาณ ๕,๐๐๐ ราย ซึ่งอัตราการเสียชีวิตของผู้หญิงไทยนั้นเพิ่มขึ้นจาก ๗ คน เป็น ๑๔ คน ต่อวัน ตัวเลขที่เพิ่มขึ้นมานี้ส่วนหนึ่งเกิดจากความประมาทเพราะคิดว่าตนเองไม่มีความเสี่ยง แล้วจะเป็นโรคนี้ผู้หญิงทุกคนที่เคยผ่านการมีเพศสัมพันธ์มาแล้วมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ทั้งสิ้น แม้จะเป็นเพศสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวก็ตาม
สถานการณ์โรคมะเร็งเต้านมในสตรีไทยปัจจุบันกำลังน่าเป็นห่วงมากขึ้นเช่นกัน หลังพบคนไข้ป่วยเป็นมะเร็งเต้านมรายใหม่ถึงปีละ ๑.๕หมื่นราย หรือ เทียบเป็นสถิติสตรีไทย ๒๕คน ป่วยเป็นมะเร็งเต้านม 1คน และยังมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆจึงเท่ากับว่าสตรีแทบทุกคนมีโอกาสและความเสี่ยงต่อการเป็น หรือ มีคนรอบข้างที่รู้จักเป็นโรคมะเร็งเต้านมได้ทั้งนั้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตลิ่งชันและชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตลิ่งชันได้ดำเนินโครงการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกในปีที่ผ่านมา โดยใช้วิธีการคัดกรองเซลล์มะเร็งปากมดลูกคือ Pap smearซึ่งเป็นวิธีที่ใช้เวลา ในการตรวจคัดกรอง ๒ – ๕ นาที และรู้ผลภายใน ๒ – ๔ สัปดาห์ เป็นวิธีที่ใช้กันมากที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง
- เพื่อส่งต่อสตรีตรวจพบผลเซลล์ปากมดลูกผิดปกติเข้ารับการรักษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมและตรวจคัดกรอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
628
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนเกิดความตื่นตัว ตระหนักถึงพิษภัยของโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและเข้าร่วมโครงการ
- ประชาชนในพื้นที่โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
- ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยและประหยัดค่าใช้จ่าย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมและตรวจคัดกรอง
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมกลุ่มเป้าหมาย 4 วัน แบ่งกลุ่มๆละ 157 คน
คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย 4 วัน แบ่งกลุ่มๆละ 157 คน
นำส่งสไลด์ ที่ ห้องชันสูตร รพ.จะนะ
เยียมบ้านกลุ่มเป้าหมายและแจ้งผลการตรวจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 35 (จำนวน 628 คน) ของสตรีอายุ 30-60 ปี ได้เข้าร่วมโครงการและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตรวจมะเร็งเต้านมประจำปี 2561
628
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี ที่ไม่เคยมาตรวจคัดกรอง 5 ปี ส่วนให้ไปทำงานมาเล บางคนยังขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ และกลุ่มสตรีที่มาคัดกรองส่วนใหญ่เป็นคนเคยมาตรวจทุกปีกลุ่มนี้จะให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 35 ( จำนวน628คน ) ของสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐-๖๐ปี ในตำบลตลิ่งชัน ภายใน ๕ ปีสะสม (จำนวน ๑,๗๙๒ คน)ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และตรวจมะเร็งเต้านม
0.00
2
เพื่อส่งต่อสตรีตรวจพบผลเซลล์ปากมดลูกผิดปกติเข้ารับการรักษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมายที่มีผลเซลล์ผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
628
668
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
628
668
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง (2) เพื่อส่งต่อสตรีตรวจพบผลเซลล์ปากมดลูกผิดปกติเข้ารับการรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและตรวจคัดกรอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) กลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ 30-60 ปี ที่ไม่เคยตรวจคัดกรองภายใน 5 ปี ไม่เห็นความสำคัญในการเข้าร่วมโครงการ บางคนก็ไม่อยู่บ้านไปทำงานมาเล
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5179-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเจะอาเรน บินหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561 ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายเจะอาเรน บินหมัด
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5179-02-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง (2) เพื่อส่งต่อสตรีตรวจพบผลเซลล์ปากมดลูกผิดปกติเข้ารับการรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและตรวจคัดกรอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) กลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ 30-60 ปี ที่ไม่เคยตรวจคัดกรองภายใน 5 ปี ไม่เห็นความสำคัญในการเข้าร่วมโครงการ บางคนก็ไม่อยู่บ้านไปทำงานมาเล
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน อัตราการเพิ่มขึ้นของผู้หญิงที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกกำลังพุ่งสูงขึ้นอย่างน่าตกใจ ข้อมูลจากองค์กรอนามัยโลก ระบุว่า มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆของผู้หญิงทั่วโลก มีการประมาณกันไว้ว่า ในทุกๆปี จะพบผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ มากกว่า ๕๐๐,๐๐๐ ราย และครึ่งหนึ่งในจำนวนนั้น จะเสียชีวิตลง ซึ่งนับได้ว่าทุกๆ ๑ ชั่วโมง จะมีผู้หญิงทั่วโลกเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกถึง ๓๐ คน ซึ่งเป็นตัวเลขที่ใกล้เคียงจากอุบัติเหตุเลยทีเดียวในส่วนของประเทศไทยเอง แต่ละปี จะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ราย และเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกประมาณ ๕,๐๐๐ ราย ซึ่งอัตราการเสียชีวิตของผู้หญิงไทยนั้นเพิ่มขึ้นจาก ๗ คน เป็น ๑๔ คน ต่อวัน ตัวเลขที่เพิ่มขึ้นมานี้ส่วนหนึ่งเกิดจากความประมาทเพราะคิดว่าตนเองไม่มีความเสี่ยง แล้วจะเป็นโรคนี้ผู้หญิงทุกคนที่เคยผ่านการมีเพศสัมพันธ์มาแล้วมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ทั้งสิ้น แม้จะเป็นเพศสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวก็ตาม
สถานการณ์โรคมะเร็งเต้านมในสตรีไทยปัจจุบันกำลังน่าเป็นห่วงมากขึ้นเช่นกัน หลังพบคนไข้ป่วยเป็นมะเร็งเต้านมรายใหม่ถึงปีละ ๑.๕หมื่นราย หรือ เทียบเป็นสถิติสตรีไทย ๒๕คน ป่วยเป็นมะเร็งเต้านม 1คน และยังมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆจึงเท่ากับว่าสตรีแทบทุกคนมีโอกาสและความเสี่ยงต่อการเป็น หรือ มีคนรอบข้างที่รู้จักเป็นโรคมะเร็งเต้านมได้ทั้งนั้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตลิ่งชันและชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตลิ่งชันได้ดำเนินโครงการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกในปีที่ผ่านมา โดยใช้วิธีการคัดกรองเซลล์มะเร็งปากมดลูกคือ Pap smearซึ่งเป็นวิธีที่ใช้เวลา ในการตรวจคัดกรอง ๒ – ๕ นาที และรู้ผลภายใน ๒ – ๔ สัปดาห์ เป็นวิธีที่ใช้กันมากที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง
- เพื่อส่งต่อสตรีตรวจพบผลเซลล์ปากมดลูกผิดปกติเข้ารับการรักษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมและตรวจคัดกรอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 628 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนเกิดความตื่นตัว ตระหนักถึงพิษภัยของโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและเข้าร่วมโครงการ
- ประชาชนในพื้นที่โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
- ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยและประหยัดค่าใช้จ่าย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมและตรวจคัดกรอง |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2561กิจกรรมที่ทำอบรมกลุ่มเป้าหมาย 4 วัน แบ่งกลุ่มๆละ 157 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 35 (จำนวน 628 คน) ของสตรีอายุ 30-60 ปี ได้เข้าร่วมโครงการและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตรวจมะเร็งเต้านมประจำปี 2561
|
628 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กลุ่มสตรี อายุ 30 - 60 ปี ที่ไม่เคยมาตรวจคัดกรอง 5 ปี ส่วนให้ไปทำงานมาเล บางคนยังขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ และกลุ่มสตรีที่มาคัดกรองส่วนใหญ่เป็นคนเคยมาตรวจทุกปีกลุ่มนี้จะให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 35 ( จำนวน628คน ) ของสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐-๖๐ปี ในตำบลตลิ่งชัน ภายใน ๕ ปีสะสม (จำนวน ๑,๗๙๒ คน)ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และตรวจมะเร็งเต้านม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งต่อสตรีตรวจพบผลเซลล์ปากมดลูกผิดปกติเข้ารับการรักษา ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมายที่มีผลเซลล์ผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 628 | 668 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 628 | 668 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเสี่ยง (2) เพื่อส่งต่อสตรีตรวจพบผลเซลล์ปากมดลูกผิดปกติเข้ารับการรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและตรวจคัดกรอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) กลุ่มเป้าหมายสตรี อายุ 30-60 ปี ที่ไม่เคยตรวจคัดกรองภายใน 5 ปี ไม่เห็นความสำคัญในการเข้าร่วมโครงการ บางคนก็ไม่อยู่บ้านไปทำงานมาเล
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ตลิ่งชันรวมใจ ป้องกันภัย มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5179-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเจะอาเรน บินหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......