กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ โครงการเฝ้าระวังอันตรายจากอะฟลาทอกซิน ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อมสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลนครหาดใหญ่

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังอันตรายจากอะฟลาทอกซิน

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังอันตรายจากอะฟลาทอกซิน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังอันตรายจากอะฟลาทอกซิน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังอันตรายจากอะฟลาทอกซิน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 278,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สาร "อะฟลาทอกซิน" เป็นสารพิษที่เกิดจากเชื้อราและมีการปนเปื้อนในอาหารมากที่สุดชนิดหนึ่ง จนอาจกล่าวได้ว่าอาหารที่เกิดเชื้อราได้ย่อมมีโอกาสปนเปื้อนสารอะฟลาทอกซินได้แต่ส่วนใหญ่แล้วอาหารที่มักพบว่าปนเปื้อนอะฟลาทอกซินได้แก่ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากถั่วลิสงนอกจากนี้ ยังพบในถั่วชนิดอื่น ๆ รวมถึงข้าวและข้าวโพดแถมยังพบในแป้งต่าง ๆเช่นแป้งข้าวเจ้าแป้งข้าวเหนียวแป้งสาลีแป้งมันสำปะหลังและอาหารอบแห้งทั้งหลายเช่นพริกแห้ง พริกป่นพริกไทยงาปลาแห้งกุ้งแห้งกระเทียมหัวหอมผักและผลไม้อบแห้งเครื่องเทศหรือแม้แต่สมุนไพรชาชาสมุนไพรและกาแฟคั่วบดเป็นต้นทั้งนี้องค์กรอนามัยโลกได้จัดระดับความเป็นพิษของสารอะฟลาทอกซิน ให้เป็น "สารก่อมะเร็ง"ที่ร้ายแรงที่สุดชนิดหนึ่งเพราะการปรุงอาหารด้วยความร้อนธรรมดาเช่นการทอดหุงนึ่งต้มจะไม่สามารถทำลายพิษอะฟลาทอกซินให้หมดไปได้เพราะสารพิษนี้สามารถทนความร้อนไปสูงถึง 260 องศาเซลเซียสอีกทั้งสารอะฟลาทอกซินเพียง1ไมโครกรัมสามารถทำให้เกิดการกลายพันธุ์ในแบคทีเรียและทำให้เกิดมะเร็งในสัตว์ทดลองได้เมื่อได้รับอย่างต่อเนื่อง สารอะฟลาทอกซินใกล้ชิดกับมนุษย์มาก เพราะมีอยู่ในอาหารที่เราบริโภคอยู่ทุกวัน แม้จะไม่ค่อยพบการเกิดพิษอย่างเฉียบพลัน เนื่องจากบริโภคครั้งละไม่มาก แต่ก็เสี่ยงต่อการเกิดพิษสะสม และหากร่างกายได้รับเข้าไปเป็นประจำ จะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิด "โรคมะเร็งตับ"ดังนั้นจึงควรให้ความสนใจและตระหนักถึงพิษภัยของสารพิษนี้เพื่อหาทางป้องกันและหลีกเลี่ยงสารอะฟลาทอกซิน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑) เพื่อตรวจเฝ้าระวังสารอะฟลาทอกซินในอาหาร อาทิเช่น พริกแห้ง พริกป่น ถั่วลิสงป่น และพริกไทยป่น เป็นต้น
  2. ๒) เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนและผู้ประกอบการในการเลือกบริโภคและจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัยจากสารอะฟลาทอกซิน เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งตับ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สั่งซื้อชุดทดสอบอะฟลาทอกซิน
  2. จัดจ้างทำแผ่นพับให้ความรู้แก่ประชาชนและผู้ประกอบการ
  3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานเพื่อใช้ในการตรวจเฝ้าระวังสารอะฟลาทอกซินในอาหารกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑) อาหารที่จำหน่ายในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ปลอดภัยจากสารอะฟลาทอกซินมากขึ้น ๒) ประชาชนและผู้ประกอบการตระหนักถึงอันตรายของสารอะฟลาทอกซินและสามารถเลือกบริโภคและจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัยได้มากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดจ้างทำแผ่นพับให้ความรู้แก่ประชาชนและผู้ประกอบการ

วันที่ 5 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำแผ่นพับให้ความรู้แก่ประชาชนและสถานประกอบการที่จำหน่ายอาหารในกลุ่มเสี่ยงต่อสารอะฟลาทอกซิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนและผู้ประกอบการในกลุ่มอาหารเสี่ยงต่อสารอะฟลาทอกซิน

 

0 0

2. สั่งซื้อชุดทดสอบอะฟลาทอกซิน

วันที่ 5 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ระบุจำนวนชุดทดสอบที่จะใช้ในการตรวจสารอะฟลาทอกซิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ชุดทดสอบสารอะฟลาทอกซินตามจำนวนที่ระบุ สามารถเก็บตัวอย่างได้อย่างครอบคลุมตรงตามที่ระบุทุกกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ในโครงการ

 

0 0

3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานเพื่อใช้ในการตรวจเฝ้าระวังสารอะฟลาทอกซินในอาหารกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 23 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

สั่งซื้ออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องที่จำเป็นต้องใช้ในการเก็บตัวอย่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้อุปกรณ์ในการสั่งซื้อครบตามจำนวน สามารถเก็บตัวอย่างอาหารได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว สามารถเก็บตัวอย่างได้จำนวนครั้งละมาก ๆ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑) เพื่อตรวจเฝ้าระวังสารอะฟลาทอกซินในอาหาร อาทิเช่น พริกแห้ง พริกป่น ถั่วลิสงป่น และพริกไทยป่น เป็นต้น
ตัวชี้วัด : การปนเปื้อนของสารอะฟลาทอกซินในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ไม่เกินร้อยละ ๑๐
0.00

 

2 ๒) เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนและผู้ประกอบการในการเลือกบริโภคและจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัยจากสารอะฟลาทอกซิน เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งตับ
ตัวชี้วัด : ประชาชนและผู้ประกอบการมีความรู้ในการเลือกบริโภคและจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัยจากสารอะฟลาทอกซิน อย่างน้อยร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑) เพื่อตรวจเฝ้าระวังสารอะฟลาทอกซินในอาหาร  อาทิเช่น  พริกแห้ง  พริกป่น  ถั่วลิสงป่น  และพริกไทยป่น  เป็นต้น (2) ๒) เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนและผู้ประกอบการในการเลือกบริโภคและจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัยจากสารอะฟลาทอกซิน  เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งตับ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สั่งซื้อชุดทดสอบอะฟลาทอกซิน (2) จัดจ้างทำแผ่นพับให้ความรู้แก่ประชาชนและผู้ประกอบการ (3) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานเพื่อใช้ในการตรวจเฝ้าระวังสารอะฟลาทอกซินในอาหารกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังอันตรายจากอะฟลาทอกซิน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อมสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลนครหาดใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด