กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน


“ โครงการเยาวชนคนรักษ์สุขภาพ กีฬาสร้างสัมพันธ์ สืบสานภูมิปัญญา ขนมพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ประจำปี 2561 ”

ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอาลียัซ สะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนคนรักษ์สุขภาพ กีฬาสร้างสัมพันธ์ สืบสานภูมิปัญญา ขนมพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3001-5-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 เมษายน 2561 ถึง 16 เมษายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนคนรักษ์สุขภาพ กีฬาสร้างสัมพันธ์ สืบสานภูมิปัญญา ขนมพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ประจำปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนคนรักษ์สุขภาพ กีฬาสร้างสัมพันธ์ สืบสานภูมิปัญญา ขนมพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนคนรักษ์สุขภาพ กีฬาสร้างสัมพันธ์ สืบสานภูมิปัญญา ขนมพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะจัน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3001-5-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 เมษายน 2561 - 16 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กีฬาและการออกกำลังกายถือเป็นหัวใจสำคัญของมนุษยชาติทุกคน เพราะกีฬานั้นนอกจากจะเสริมสร้างในเรื่องของสุขภาพให้แข็งแรงและป้องกันโรคภัยแล้ว ยังเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิตให้สมดุล เนื่องจากกีฬาสอนให้รู้จักสังคม รู้จักการมีระเบียบวินัย การเสียสละและการเป็นผู้นำ การยอมรับในสังคม เพราะการออกกำลังกายเป็นกิจกรรมสร้างสุขภาพ ดังจะเห็นได้จากแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ.2560 - 2564)ที่ได้มุ่งหวังให้คนไทยได้รับการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬา อย่างถูกต้องจนเป็นวิถีชีวิต มีสุขภาพและสมรรถภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีน้ำใจนักกีฬาเพื่อหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว สู่ความสามัคคีและสมานฉันท์ มีการบริหารจัดการกีฬาทุกมิติอย่างเป็นระบบ โดยใช้วิทยาศาสตร์การกีฬาพัฒนา ศักยภาพนักกีฬาสู่ความเป็นเลิศอย่างมีมาตรฐานระดับสากล รวมทั้งให้การกีฬาเป็นแหล่งสร้างรายได้ สร้างอาชีพ และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศควบคู่กันไปประกอบกับนโยบายของคณะรัฐมนตรี เมื่อ พ.ศ.2559 ที่ผ่านมา รัฐบาลจะวางรากฐาน พัฒนา และเสริมความเข้มแข็งให้แก่การให้บริการ ด้านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชนโดยเน้นความทั่วถึง ความมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ส่งเสริมการกีฬาเพื่อสุขภาพ ใช้กีฬาเป็นสื่อในการพัฒนาลักษณะนิสัย เยาวชนให้มีน้ำใจนักกีฬา มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกามารยาท และมีความสามัคคี อีกทั้งพัฒนานักกีฬาให้มีศักยภาพสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติจนสร้างชื่อเสียงแก่ประเทศชาติ
นอกจากการเล่นกีฬาและการออกกำลังกายแล้ว การบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการที่เป็นอาหารพื้นบ้านตามท้องถิ่น ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง จากการสำรวจสาเหตุของโรคภัยในปัจจุบันพบว่าร้อยละ 70 ของโรคหรือความเจ็บป่วยเกิดขึ้นจากภาวะโภชนาการบกพร่อง เนื่องจากได้รับอาหารผิดหลักโภชนาการ ดังจะเห็นได้จากสถิติของโรคที่ทำให้คนเสียชีวิตมากที่สุดเรียงลำดับ 1-3 คือ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ และโรคที่เกี่ยวกับหลอดเลือดตีบ ซึ่งทั้ง 3 โรคไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ แต่เกิดจากการ บริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง เพราะในปัจจุบันต้องยอมรับว่า วัยรุ่นมีพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจากวัยรุ่นได้รับอิทธิพลจากความเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม วัฒนธรรม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สภาพวิถีชีวิตของครอบครัว เพื่อน สังคม และสภาพแวดล้อม การแข่งขันกับเวลาในการศึกษาหาความรู้ จึงทำให้วัยรุ่นมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยหันมารับประทานอาหารจานด่วน หรืออาหารฟาสต์ฟู้ต
ทั้งนี้เนื่องจากอาหารจานด่วน หรืออาหารฟาสต์ฟู้ด เป็นอาหารที่มีการเตรียมขึ้นมาจำหน่ายแก่ผู้บริโภคเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว ประหยัดเวลา สามารถรับประทานได้ทันทีซึ่งเหมาะกับสังคมในสภาพที่ต้องเร่งด่วน เช่น แฮมเบอร์เกอร์ สเต็ก แซนต์วิช พาย พิชซ่า ไก่ทอด ไส้กรอก เป็นต้น ส่วนประเภทขนม เช่น โดนัท พุดดิ้ง เค้ก และไอศกรีม เป็นต้น อาหารจานด่วนจะเป็นอาหารจำพวก แป้ง ไขมัน และน้ำตาลมาก เมื่อรับประทานเข้าไปจะทำให้เกิดภาวะโภชนาการเกิน และโรคอ้วน และจะทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองตีบและพบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ เราไม่สามารถทานอาหารได้ครบทั้ง 5 หมู่ เนื่องจากการใช้ชีวิตที่เร่งรีบ เลือกรับประทานอาหารตามใจปาก และรับประทานอาหารพวกฟาสต์ฟู๊ด ประกอบกับการรับประทานอาหารต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงหลายประการ ไม่ว่าการได้รับสารพิษในขั้นตอนการผลิต การปรุงอาหารที่ไม่สะอาด พืช ผัก ผลไม้ มียาฆ่าแมลงตกค้าง เนื้อสัตว์มีการใช้สารเคมีเพื่อเร่งให้โตไว ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานของร่างกายลดลง และเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา สภาเยาวชนบ้านเกาะจัน ซึ่งเป็นกลุ่มเยาวชนที่อยู่ในพื้นที่ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้เป็นอย่างดี และตระหนักอยู่เสมอว่าในฐานะที่เป็นแกนนำเยาวชนควรจะมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและจัดกิจกรรมให้กับเด็กและเยาวชนในพื้นที่จึงเป็นกลุ่มเป้าหมายแรก ที่ควรได้รับการปลูกฝังให้รักการออกกำลังกายและเลือกรับประทานอาหารพื้นบ้านที่มีอยู่ในท้องถิ่น จึงได้จัดโครงการเยาวชนคนรักษ์สุขภาพ กีฬาสร้างสัมพันธ์ สืบสานภูมิปัญญา ขนมพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อหาแนวทางที่จะลดปัจจัยความเสี่ยงที่จะทำให้เจ็บป่วย ส่งเสริมให้ร่างกายมีสุขภาพที่แข็งแรง และเปลี่ยนทัศนคติการบริโภคของวัยรุ่นสมัยใหม่ โดยใช้ภูมิปัญญาทางด้านอาหารที่มีมาแต่ช้านานมาถ่ายทอดและเผยแพร่ให้เยาวชนได้เข้าใจถึงแก่นแท้และความชาญฉลาดของคนในสมัยก่อน ให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดีทั้งกายและใจ โดยการส่งเสริมการเรียนรู้วิธีการทำอาหารพื้นเมือง ขนมพื้นบ้านที่มีอยู่ในท้องถิ่น ประโยชน์ของอาหารพื้นบ้าน และส่งเสริมการเล่นกีฬาการออกกำลังกาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา สุขภาพจิตที่สมบูรณ
  2. 2. เพื่อเด็กและเยาวชนหันมาบริโภคอาหารพื้นเมืองท้องถิ่นที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น
  3. 3.เพื่อสร่งเด็กและเยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จััดอบรมให้ความรู้และเสวนา เรีื่อง ประโยชน์ของกีฬาและออกกำลังกาย
  2. จัดให้มีการแข่งขันกีฬาสากลและกีฬาพื้นบ้าน
  3. จัดให้มีกิจกรรมการออกซุ้มแสดงภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านขนมพื้นบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา
  2. เด็กและเยาวชนมีจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร และหันมาบริโภคขนมพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง ที่มีอยู่ในท้องถิ่นและมีมีประโยชน์ต่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น
  3. เด็กและเยาวชนมีสุขภาพกายแข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ์
  4. เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และเล่นกิจกรรมทำให้ตนเองห่างไกลยาเสพติด
  5. สังคมทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วม และส่งเสริมให้ชุมชนใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬา เป็นสื่อในการส่งผลให้เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญา ที่มีน้ำใจนักกีฬา และสมานฉันท์ยั่งยืนต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จััดอบรมให้ความรู้และเสวนา เรีื่อง ประโยชน์ของกีฬาและออกกำลังกาย

วันที่ 20 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จััดอบรมให้ความรู้และเสวนา เรีื่อง ประโยชน์ของกีฬาและออกกำลังกาย พัฒนาตนเองสู่ความเป็นเลิศด้นสุขภาพและกีฬา และเรื่อง ขนมพื้นบ้าน อาหารพื้นเมืองในท้องถิ่นเรา ดีอย่างไรต่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องประโยชน์ของกีฬาและออกกำลังกายรวมถึงเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพมากขึ้น

 

0 0

2. จัดให้มีการแข่งขันกีฬาสากลและกีฬาพื้นบ้าน

วันที่ 20 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดให้มีการแข่งขันกีฬาสากลและกีฬาพื้นบ้าน ได้แก่ 1.กีฬาฟุตบอล
2.กีฬาตะกร้อ 3.กีฬาวอลเลย์บอล 4.กีฬาแชร์บอล 5.กีฬาพื้นบ้านทั่วไป เช่น ลากกาบหมาก วิ่งเปี้ยว วิ่งกระสอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เสริมสร้างความแข็งแรงและภูมิคุ้มกันที่ดีแก่ร่างกายให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ -เด็กและเยาวชนสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และเล่นกิจกรรมทำให้ตนเองห่างไกลยาเสพติด

 

0 0

3. จัดให้มีกิจกรรมการออกซุ้มแสดงภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านขนมพื้นบ้าน

วันที่ 20 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการออกซุ้มแสดงภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านขนมพื้นบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สังคมทุกภาคส่วนได้มีส่นร่วมและส่งเสริมให้ชุมชนให้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬา เป็นสื่อในการส่งผลให้เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญา ที่มีน้ำใจกีฬาและสมานฉันท์ยั่งยืีนต่อไป

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา สุขภาพจิตที่สมบูรณ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อเด็กและเยาวชนหันมาบริโภคอาหารพื้นเมืองท้องถิ่นที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อสร่งเด็กและเยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา สุขภาพจิตที่สมบูรณ (2) 2. เพื่อเด็กและเยาวชนหันมาบริโภคอาหารพื้นเมืองท้องถิ่นที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น (3) 3.เพื่อสร่งเด็กและเยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จััดอบรมให้ความรู้และเสวนา เรีื่อง ประโยชน์ของกีฬาและออกกำลังกาย (2) จัดให้มีการแข่งขันกีฬาสากลและกีฬาพื้นบ้าน (3) จัดให้มีกิจกรรมการออกซุ้มแสดงภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านขนมพื้นบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนคนรักษ์สุขภาพ กีฬาสร้างสัมพันธ์ สืบสานภูมิปัญญา ขนมพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ประจำปี 2561

รหัสโครงการ 61-L3001-5-03 ระยะเวลาโครงการ 13 เมษายน 2561 - 16 เมษายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเยาวชนคนรักษ์สุขภาพ กีฬาสร้างสัมพันธ์ สืบสานภูมิปัญญา ขนมพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง ประจำปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3001-5-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาลียัซ สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด