กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการโรงเรียนนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายปัญญา ศรีลารักษ์

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5169-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5169-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมี "อาหาร" ที่เพียงพอและมีคุณภาพ ถือเป็น "สิทธิขั้นพื้นฐาน" ที่คนทุกคนไม่ว่า ยากดีมีจนควรเข้าถึง ทว่าในความเป็นจริงกลับพบการปนเปื้อนของสารพิษตกค้างในอาหารได้ทั่วไป อาทิ ผัก-ผลไม้ ดังการเปิดเผยของ เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Thai-PAN) เมื่อเดือนต.ค. 2559 ระบุว่า ผลการสุ่มตรวจผักและผลไม้ ทั้งในห้างค้าปลีกชื่อดังและตลาดขายส่งขนาดใหญ่ จำนวน 158 ตัวอย่าง พบสารเคมีตกค้างถึงร้อยละ 56

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เปิดเผยเมื่อเดือน เม.ย. 2560 ว่า กระทรวงเกษตรฯ มียุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเพื่อเข้าสู่ปีแห่งการยกระดับมาตรฐานการเกษตรสู่ความยั่งยืน ซึ่ง 1 ในเป้าหมายคือ "มุ่งลดการใช้สารเคมีให้ได้ร้อยละ 10 ภายใน 5 ปี" ตัวชี้วัดคือการตรวจพบสารเคมีตกค้างเกินมาตรฐานต้องลดลงจากปัจจุบันร้อยละ 10 ของจำนวนตัวอย่างที่ตรวจ ภายใน 5 ปี ดังนั้นการหาผักปลอดสารพิษมาประกอบอาหารกลางวันให้กับเด็กๆ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่สุดในพื้นที่ของโรงเรียนเอง

สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียนวัดปรางแก้ว โดยภาพรวมนักเรียนส่วนมากมีการบริโภคอาหารและโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย แต่ตรวจสุขภาพร่วมกับโรงพยาบาลคลองหอยโข่งพบว่ามีนักเรียนบางส่วนประสบปัญหาทุพโภชนาการ เนื่องจากมีสุขนิสัยที่ไม่ถูกต้องในการเลือกรับประทานอาหาร เช่น ไม่ชอบรับประทานผักกินอาหารประเภทเดิมซ้ำ ๆ กัน ชอบรับประทานขนมกรุบกรอบที่ไม่มีประโยชน์ดื่มน้ำอัดลมและน้ำหวานชอบรับประทานอาหารที่มีผงชูรส และพบว่านักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้าก่อนมาโรงเรียน ทำให้อาหารมื้อเช้าซึ่งเป็นมื้อสำคัญที่สุดของนักเรียนซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการด้านความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียนไม่ได้รับการส่งเสริมให้เหมาะสมกับนักเรียนที่กำลังเจริญเติบโตอย่างสมวัยซึ่งส่วนหนึ่งมาจากผู้ปกครองที่ยังไม่เห็นความสำคัญในการสอนบุตรหลานให้เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการรับประทานอาหารเช้าก่อนมาโรงเรียน และจากการประเมินภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนวัดปรางแก้วในปีการศึกษา 2560 พบว่า มีนักเรียนเตี้ย จำนวน 3 คน ผอมและเตี้ย จำนวน 2 คน อ้วน จำนวน 5 คน

ด้วยเหตุนี้โรงเรียนวัดปรางแก้วได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาภาวะโภชนาการทั้งขาดและเกินของนักเรียน รวมทั้งการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย จึงได้จัดทำโครงการบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเองในโรงเรียนขึ้นเพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนและมีความรู้และแนวทางในการจัดการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องยั่งยืนโรงเรียนวัดปรางแก้วจึงได้จัดทำโครงการบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเองขึ้น โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติและพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้กินอิ่มอย่างมีคุณภาพ โภชนาการสมวัย สุขภาพแข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและนำไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน / 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำปุ๋ยอินทรีย์และนำไปใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ / 3. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ ทำให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก ปลอดสารพิษเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและอาหารเช้า
  2. การทำปุ๋ยอินทรีย์
  3. การทำปุ๋ยอินทรีย์
  4. สร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก ปลอดสารพิษเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและอาหารเช้า
  5. สร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก ปลอดสารพิษเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและอาหารเช้า
  6. การทำปุ๋ยอินทรีย์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและนำไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน
  2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำปุ๋ยอินทรีย์และนำไปใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ
  3. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ ทำให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก ปลอดสารพิษเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและอาหารเช้า

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้และปฏิบัติจริงแก่เด็กนักเรียน จำนวน 100 คน เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ การดูแลและข้อควรระวัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดสารเคมี เพื่อใช้เป็นอาหารกลางวันและอาหารเช้า
  2. มีแปลงผักปลอดสารเคมีเป็นแหล่งวัตถุดิบของโรงเรียนภ

 

100 0

2. สร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก ปลอดสารพิษเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและอาหารเช้า

วันที่ 8 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่เด็กนัหเรียน ตำนวน 100 คน พร้อมลงปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดสารเคมี เพื่อใช้เป็นอาหารกลางวันและอาหารเช้า
  2. มีแปลงผักปลอดสารเคมีเป็นแหล่งวัตถุดิบของโรงเรียนภ

 

100 0

3. การทำปุ๋ยอินทรีย์

วันที่ 8 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับเด็กนักเรียน จำนวน 100 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการทำปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อใช้ในแปลงผัก
  2. มีปุ๋ยอินทรีย์สำหรับแปลงผักปลอดสารเคมีเป็นแหล่งวัตถุดิบของโรงเรียน

 

100 0

4. การทำปุ๋ยอินทรีย์

วันที่ 8 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติให้กับเด็กนักเรียน จำนวน 100 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการทำปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อใช้ในแปลงผัก
  2. มีปุ๋ยอินทรีย์สำหรับแปลงผักปลอดสารเคมีเป็นแหล่งวัตถุดิบของโรงเรียน

 

100 0

5. การทำปุ๋ยอินทรีย์

วันที่ 8 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติให้กับเด็กนักเรียน จำนวน 100 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการทำปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อใช้ในแปลงผัก
  2. มีปุ๋ยอินทรีย์สำหรับแปลงผักปลอดสารเคมีเป็นแหล่งวัตถุดิบของโรงเรียน

 

100 0

6. สร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก ปลอดสารพิษเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและอาหารเช้า

วันที่ 30 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้และปฏิบัติจริงแก่เด็กนักเรียน จำนวน 100 8o

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดสารเคมี เพื่อใช้เป็นอาหารกลางวันและอาหารเช้า
  2. มีแปลงผักปลอดสารเคมีเป็นแหล่งวัตถุดิบของโรงเรียนภ

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและนำไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน / 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำปุ๋ยอินทรีย์และนำไปใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ / 3. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ ทำให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและปลูกพืชผักในแปลงผักของโรงเรียนได้ 2. ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ / ปริมาณพืช ผักที่ผลิตได้ 3. ภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนวัดปรางแก้วลดลง
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและนำไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน / 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำปุ๋ยอินทรีย์และนำไปใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ / 3. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ ทำให้นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก ปลอดสารพิษเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและอาหารเช้า (2) การทำปุ๋ยอินทรีย์ (3) การทำปุ๋ยอินทรีย์ (4) สร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก ปลอดสารพิษเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและอาหารเช้า (5) สร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก ปลอดสารพิษเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและอาหารเช้า (6) การทำปุ๋ยอินทรีย์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5169-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปัญญา ศรีลารักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด