กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย คุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561 ”

ร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิต

หัวหน้าโครงการ
นางวิภาวรรณ ศรีสังข์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย คุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561

ที่อยู่ ร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิต จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-2482-1-002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย คุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิต

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย คุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
- เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการ
- เพื่อยกระดับการจำหน่ายอาหารให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น
- เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนได้เผยแพร่ความรู้ด้านอาหารปลอดภัยสู่ผู้บริโภคในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องอาหาร
- ป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามแนวคิดหลักของการพัฒนาสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ดังนั้นจึงมีการกำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นปัจจัยพื้นฐาน 4 ประการได้แก่ ด้านสุขภาพจิต การออกกำลังกาย การอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาหารสะอาดปลอดภัย ซึ่งจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีด้วย ปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารนับว่าเป็นสิ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน การจัดการอาหารที่ดี นอกจากจะคำนึงถึงรสชาติแล้วยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร เจ้าของร้านขายของชำ รวมถึงอสม. และผู้นำนักเรียน อย.น้อย ต้องมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารทุกขั้นตอนและตระหนักถึงความสำคัญในการประกอบอาหารที่สะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค จากการดำเนินงานพบว่าพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยาง มีร้านค้าทั้งหมด 21 ร้าน ผ่านเกณฑ์ 17 ร้านคิดเป็นร้อยละ 80.95 และแผงลอย 10 ร้านผ่านเกณฑ์ 8 ร้านคิดเป็นร้อยละ 80 เนื่องจากพบปัญหาร้านค้าและแผงลอยไม่ผ่านตามเกณฑ์อีกร้อยละ 19.35 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยางจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย คุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561 ขึ้นเพื่อให้ร้านค้าและแผงลอยผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการ
  2. เพื่อยกระดับการจำหน่ายอาหารให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น
  3. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนได้เผยแพร่ความรู้ด้านอาหารปลอดภัยสู่ผู้บริโภคในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องอาหาร
  2. ป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 62
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการมีความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านสุขาภิบาลอาหาร
  2. แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่นทุกแห่ง
  3. ผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนสามารถเผยแพร่ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสู่ผู้บริโภคในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องอาหาร

วันที่ 2 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของอำเภอตากใบ โดย ผอ.รพ.สต.บ้านโคกยาง
  • การให้ความรู้เกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภค โดย นางยามีล๊ะ มะดูสาลี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน
  • ชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมินร้านค้า ร้านชำ โดยนางสาวพรเพ็ญ ประสิทธิชัยวุฒิ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ชี้แจงกฏเกณฑ์และแผนการออกตรวจร้านประจำปี โดย นางยามีล๊ะ มะดูสาลี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน
  • สรุปผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้ประกอบการมีความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านสุขาภิบาลอาหาร
  • แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่นทุกแห่ง
  • ผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนสามารถเผยแพร่ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสู่ผู้บริโภคในชุมชนได้

 

62 0

2. จัดทำป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย

วันที่ 2 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของอำเภอตากใบ โดย ผอ.รพ.สต.บ้านโคกยาง
  • การให้ความรู้เกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภค โดย นางยามีล๊ะ มะดูสาลี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน
  • ชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมินร้านค้า ร้านชำ โดยนางสาวพรเพ็ญ ประสิทธิชัยวุฒิ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ชี้แจงกฏเกณฑ์และแผนการออกตรวจร้านประจำปี โดย นางยามีล๊ะ มะดูสาลี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน
  • สรุปผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้ประกอบการมีความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านสุขาภิบาลอาหาร
  • แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่นทุกแห่ง
  • ผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนสามารถเผยแพร่ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารสู่ผู้บริโภคในชุมชนได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ดำเนินการสำรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านชำ และร้านน้ำชา จำนวน 31 ร้าน
  2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 1 วัน โดยมุ่งเน้นให้มีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร แนวทางการยกระดับ มาตรฐานของแผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านชำ ร้านน้ำชา จำนวน 1 วัน มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 62 คน   คิดเป็นร้อยละ 100
  3. ตรวจแนะนำและยกระดับมาตรฐานในร้านจำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารร้านชำ และร้านน้ำชา
    ซ้ำเพื่อประเมิน ความก้าวหน้า จำนวน  31 ร้าน
    ผ่านเกณฑ์ จำนวน 29 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 93.55 ไม่ผ่าน จำนวน 2 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 6.45

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด : ร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มารตรฐานร้อยละ 100
100.00 100.00

 

2 เพื่อยกระดับการจำหน่ายอาหารให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : ร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มารตรฐานร้อยละ 100
100.00 93.55

ตรวจแนะนำและยกระดับมาตรฐานในร้านจำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารร้านชำ และร้านน้ำชา จำนวน 31 ร้าน
ผ่านเกณฑ์ จำนวน 29 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 93.55 ไม่ผ่าน จำนวน 2 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 6.45

3 เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนได้เผยแพร่ความรู้ด้านอาหารปลอดภัยสู่ผู้บริโภคในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มารตรฐานร้อยละ 100
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62 62
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 62 62
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
- เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้องด้านอาหารปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการ
- เพื่อยกระดับการจำหน่ายอาหารให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น
- เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้นำชุมชนได้เผยแพร่ความรู้ด้านอาหารปลอดภัยสู่ผู้บริโภคในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องอาหาร
- ป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย คุ้มครองผู้บริโภค ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-2482-1-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภาวรรณ ศรีสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด