กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันมีการสนใจใช้ยาสมุนไพร และวิธีการบำบัดรักษาสุขภาพมากขึ้น เนื่องจากการรักษาแผนปัจจุบันบางครั้งมีผลข้างเคียงและมีขีดจำกัดในการรักษา แพทย์แผนไทยก็เป็นทางเลือกหนึ่ง และเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสังคม ทำให้ประชาชนให้บริการด้านสุขภาพมากขึ้น แพทย์แผนไทยปัจจุบันได้รับการส่งเสริมให้เป็นแพทย์ทางเลือกอย่างหนึ่งแก่ผู้รับบริการ การปลูกสมุนไพรเพื่อนำมาใช้เองช่วยให้ชุมชนนำสมุนไพรที่มีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ชาวตำบลกำแพงมีความสนใจ มีความเชื่อศรัทธาในการรักษาของหมอพื้นบ้าน และส่วนใหญ่นิยมหันมาใช้บริการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้นทุกปี และเพื่อเป็นการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย การนำภูมิปัญญามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างปลอดภัย ทั้งทางด้านการส่งเสริมสุขภาพ การรักาาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น และตอบสนองความต้องการของชุมชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมการปลูก การใช้ จนทำให้เกิดแหล่งสมุนไพรในชุมชน เป็นการแสวงหาศักยภาพของชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนเป็นส่วนหนึ่งของความเข็มแข้งโดยการพึ่งตนเอง และยึดหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินงานของชุมชนต่อไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จึงเน้นการให้ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เพื่อชุมชน สร้างแกนนำด้านการแพทย์แผนไทย ผลการดำเนินโครงการพบว่า

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรที่มีอยู่ทั่วไปและสมุนไพรในท้องถิ่น แก่แกนนำและประชาชนทั่วไปในชุมชน แกนนำและประชาชนทั่วไปในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรไทยและสามารถนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิตได้ จากการประเมินผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลัง อบรม จำนวน 10 ข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ก่อนการอบรมเพียงร้อยละ 38.92 และหลังจากได้รับความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรและสาธิตการแปรรูปสมุนไพรต่างๆมาใช้ในการรักษาโรคเบื้องต้นจากวิทยากร ผลการประเมินหลังการอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 81.29 และสามารถบอกถึงประโยชน์และการนำสมุนไพรที่มีในพื้นที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรมจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรในชุมชน มีแหล่งการเรียนรู้สมุนไพรในชุมชน โดยมีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันกับกลุ่มแกนนำในชุมชนและได้จัดตั้งคณะกรรมการกลุ่มขึ้น เพื่อการบริหารจัดการศูนย์ จัดหาพันธ์พืชสมุนไพรต่างๆมาปลูกในศูนย์การเรียนรู้ และจัดหาคู่มือตำราพืชสมุนไพรไว้ในศูนย์เรียนรู้

กิจกรรมในศูนย์การเรียนรู้ เป็นแหล่งเรียนรู้ของประชาชนทั่วไปในชุมชนต่างๆ ร้อยละ 90 เปิดเป็นศูนย์เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรให้กับผู้สนใจได้ศึกษา โดยมีการรวบรมสมุนไพร เพื่ออนุรักษ์ไว้ให้ครในชุมชนได้ศึกษาถึงคุณประโยชน์ที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน

กิจกรรมติดตามเยี่ยมผู้ที่สนใจในชุมชน ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 นำพืชสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ จากการติดตามเยี่ยม พบว่า ประชาชนทั่วไปหันมาสนใจในสมุนไพรมากขึ้น โดยสมุนไพรที่ใช้ส่วนมากจะแปรรูปมาทำสมุนไพรในการรักษาอาการปวดเมื่อย โดยเฉพาะสมุนไพรพอกเข่าเพื่อบรรเท่าอาการปวดเข่าในกลุ่มผู้สูงอายุ และมีการปลูกพืชสมุนไพรไว้ในครัวเรือนเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันมากถึง ร้อยละ 95 โดยสมุนไพรที่ใช้ปลูกกันในครัวเรือน เช่น พลู ว่านห่างจระเข้ กระเพรา ตะไคร้ มะกรูด มะนาว พริก ข่า โหรพา ฝรั่ง มะขาม มะพร้าว มะละกอ เป็นต้น และสามารถนำสมุนไพรที่ปลูกในครัวเรือนมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

การดำเนินกิจกรรมโครงการต้องมีการเปลี่ยนแปลงสถานที่จัดอบรมกระทันหัน เนื่องจากสถานที่เดิมมีกิจกรรมที่ต้องดำเนินการ จึงไม่สามารถที่จะขอใช้ได้ในเวลาที่กำหนด

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ