โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางอำละ สุภาพ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5300-2-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5300-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล เป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ลักษณะหมู่บ้านมีถนนลาดยาง ถนนคอนกรีตและถนนลูกรังเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านสลับกันในแต่ละชุมชน โดยชุมชนหลังโรงยาง เป็นชุมชนที่มีการเชื่อมต่อของถนนลูกรัง สลับกับถนนคอนกรีต และในบางพื้นที่ต้องอาศัยเรือหางยาวเป็นพาหนะในการเดินทาง เนื่องจากมีลำคลองน้ำเวียนเป็นลำคลองที่กั้นผ่านระหว่างพื้นที่ของชุมชนหลังโรงยาง และมีป่าชายเลนอยู่ในพื้นที่แห่งนี้ โดยบ้านผู้ป่วย (Index case) อยู่ในพื้นที่ป่าชายเลนด้วย โดยการตั้งบ้านเรือนกระจัดกระจายตามเส้นถนนลูกรังและถนนคอนกรีตในชุมชน ระยะทางจากชุมชนคลองน้ำเวียนถึง รพ.สตูล ระยะทางไกลสุดประมาณ 3 กิโลเมตร จากชุมชนหลังโรงยาง ถึง รพ.สตูล ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร และจากชุมชนหลังโรงยางถึง รพ.สต.คลองขุด (สาขา) ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร และระยะทางจากรพ.สต.ไปยังหมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ไกลที่สุดประมาณ 8 กม. จึงมีประชาชนบางส่วนเข้ารับบริการที่ รพ.สตูล คลินิกและหรือหน่วยบริการปฐมภูมิที่ใกล้บ้าน ได้แก่ PCU พิมาน และ PCU ศรีพิมาน มีจำนวนหลังคาเรือน 408 หลังคาเรือน ประชากรรวม 1,441 คน ประชากรเพศชาย 717 คน เพศหญิง 724 คน จากการสำรวจพื้นที่ชุมชนหลังโรงยางมีจำนวนหลังคาเรือน 102 หลังคาเรือน ประชากร 426 คน แม้ว่าในปี 2560 ไม่มีการระบาดด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่หมู่ที่ 3 แต่ก็เป็นพื้นที่ที่อยู่ติดกับพื้นที่เทศบาลเมืองสตูลซึ่งเป็นพื้นที่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
กลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคเลือดออกในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต
- ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ได้รับการกระตุ้นให้มีการตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,200 หลังคาเรือน
ผลลัพธ์
๑. อัตราป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
๒. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ องค์กรชุมชน และประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
๓. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด
วันที่ 16 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1.นัดประชุมสมาชิกกลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุขหมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก และสมาชิกกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก
2.วางแผนจัดกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก โดยกำหนดเวัน เวลา สถานที่ในการออกกิจกรรมรณรงค์ฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
ได้แผนกิจกรรมการดำเนินงานรณรงค์โรคไข้เลือดออก จำนวน 1 แผนงาน
ผลลัพธ์
กลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุขฯและชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ได้จัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายตามแผนงานที่ตั้งไว้
50
0
2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
วันที่ 14 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สนับสนุนการดำเนินโครงการ
- แกนนำสาธารณสุข (อสพส.หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก) ลงสำรวจลูกน้ำยุงลาย ค่า HI,CI (แจกและแนะนำการใช้ทรายทีมีฟอส), รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย โดยการคว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง เป็นต้น
- ปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงต่อการเพาะพันธุ์ยุงลาย เช่น ขยะ หรือบริเวณที่มีการสะสมของภาชนะที่น้ำสามารถขังได้
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก จำนวน 3 วัน ดังนี้
วันที่ 1 โซนป้ายเขียว โซนเกาะนก หมู่ที่ 3 ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
วันที่ 2 โซนหลังโรงยาง, โซนคลองน้ำเวียน หมู่ที่ 3 ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
วันที่ 3 โซนร่วมพัฒนา, โซนหลังช่อง 3 และโซนโคกมะพร้าว หมู่ที่ 3 ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
บ้านเรือนประชาชนในเขตพื้นที่หมู่ที่ 3 ได้รับการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงในการเป็นแหล่งรังโรคไข้เลือดออกและได้รับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 50 ของบ้านเรือนทั้งวหมดในพื้นที่
ผลลัพธ์
ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้ ไม่เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)
6.00
4.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5300-2-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอำละ สุภาพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางอำละ สุภาพ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5300-2-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5300-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล เป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ลักษณะหมู่บ้านมีถนนลาดยาง ถนนคอนกรีตและถนนลูกรังเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านสลับกันในแต่ละชุมชน โดยชุมชนหลังโรงยาง เป็นชุมชนที่มีการเชื่อมต่อของถนนลูกรัง สลับกับถนนคอนกรีต และในบางพื้นที่ต้องอาศัยเรือหางยาวเป็นพาหนะในการเดินทาง เนื่องจากมีลำคลองน้ำเวียนเป็นลำคลองที่กั้นผ่านระหว่างพื้นที่ของชุมชนหลังโรงยาง และมีป่าชายเลนอยู่ในพื้นที่แห่งนี้ โดยบ้านผู้ป่วย (Index case) อยู่ในพื้นที่ป่าชายเลนด้วย โดยการตั้งบ้านเรือนกระจัดกระจายตามเส้นถนนลูกรังและถนนคอนกรีตในชุมชน ระยะทางจากชุมชนคลองน้ำเวียนถึง รพ.สตูล ระยะทางไกลสุดประมาณ 3 กิโลเมตร จากชุมชนหลังโรงยาง ถึง รพ.สตูล ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร และจากชุมชนหลังโรงยางถึง รพ.สต.คลองขุด (สาขา) ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร และระยะทางจากรพ.สต.ไปยังหมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ไกลที่สุดประมาณ 8 กม. จึงมีประชาชนบางส่วนเข้ารับบริการที่ รพ.สตูล คลินิกและหรือหน่วยบริการปฐมภูมิที่ใกล้บ้าน ได้แก่ PCU พิมาน และ PCU ศรีพิมาน มีจำนวนหลังคาเรือน 408 หลังคาเรือน ประชากรรวม 1,441 คน ประชากรเพศชาย 717 คน เพศหญิง 724 คน จากการสำรวจพื้นที่ชุมชนหลังโรงยางมีจำนวนหลังคาเรือน 102 หลังคาเรือน ประชากร 426 คน แม้ว่าในปี 2560 ไม่มีการระบาดด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่หมู่ที่ 3 แต่ก็เป็นพื้นที่ที่อยู่ติดกับพื้นที่เทศบาลเมืองสตูลซึ่งเป็นพื้นที่ระบาดของโรคไข้เลือดออก กลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคเลือดออกในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต - ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ได้รับการกระตุ้นให้มีการตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,200 หลังคาเรือน
ผลลัพธ์
๑. อัตราป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
๒. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ องค์กรชุมชน และประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
๓. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด |
||
วันที่ 16 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ1.นัดประชุมสมาชิกกลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุขหมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก และสมาชิกกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก 2.วางแผนจัดกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก โดยกำหนดเวัน เวลา สถานที่ในการออกกิจกรรมรณรงค์ฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ได้แผนกิจกรรมการดำเนินงานรณรงค์โรคไข้เลือดออก จำนวน 1 แผนงาน ผลลัพธ์ กลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุขฯและชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ได้จัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายตามแผนงานที่ตั้งไว้
|
50 | 0 |
2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 14 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต บ้านเรือนประชาชนในเขตพื้นที่หมู่ที่ 3 ได้รับการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงในการเป็นแหล่งรังโรคไข้เลือดออกและได้รับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 50 ของบ้านเรือนทั้งวหมดในพื้นที่ ผลลัพธ์ ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้ ไม่เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน) |
6.00 | 4.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมความพร้อมอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5300-2-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอำละ สุภาพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......