กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการร่วมใจพัฒนาทักษะ อสม.เพื่อ IQ เด็กเทศบาลเมืองปัตตานี ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางนิสากรสะแลแม

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจพัฒนาทักษะ อสม.เพื่อ IQ เด็กเทศบาลเมืองปัตตานี

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 1 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใจพัฒนาทักษะ อสม.เพื่อ IQ เด็กเทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจพัฒนาทักษะ อสม.เพื่อ IQ เด็กเทศบาลเมืองปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใจพัฒนาทักษะ อสม.เพื่อ IQ เด็กเทศบาลเมืองปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 1 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 167,948.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกได้จัดกลุ่มประเทศที่มีภาระวัณโรคสูง (High Burden Country Lists) เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) มีภาระโรควัณโรคสูง (TB) 2) มีภาระวัณโรคที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีสูง (TB/HIV) และ3) มีวัณโรคดื้อยาหลายขนานสูง (MDR-TB) ซึ่งประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคสูงทั้ง 3 กลุ่มดังกล่าวมา ดังนั้นตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (The End TB Strategy) โดยมีเป้าหมายลดอุบัติการณ์วัณโรค (Incidence) ให้ต่ำกว่า 10 ต่อแสนประชาการโลกภายในปี พ.ศ. 2578 (2034) ประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ประมาณ 120,000 ราย หรือคิดเป็น 171 ต่อประชากรแสนคน(WHO,Global TB Report 2014) แต่จากระบบรายงานผลการดำเนินงานวัณโรคปีงบประมาณ 2557 มีผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษา 67,789 รายคิดเป็นอัตราการตรวจพบ (Detection rate) เพียงร้อยละ59 และ ในปีงบประมาณ 2558 มีรายงานผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษา 62,154 รายคิดเป็นอัตราการตรวจพบ (Detection rate) เพียงร้อยละ 55.3สาเหตุของอัตราการตรวจพบที่ต่ำนี้อธิบายได้ดังแสดงในโมเดลนอกจากนี้ยังพบว่ามีผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มแรงงานข้ามชาติเพิ่มขึ้น โดยในปี 2557 มีรายงานผู้ป่วยวัณโรคในแรงงานข้ามชาติสูงถึง 3,191 ราย ซึ่งมีการเคลื่อนย้ายที่อยู่บ่อยเป็นปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรมที่มีผลต่อการควบคุมวัณโรคในขณะที่อัตราผลสำเร็จการรักษายังต่ำเพียงร้อยละ 81 สำหรับจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปี2556-2560 พบอัตราป่วยด้วยโรควัณโรคทุกประเภท คือ 78.62,68.35,74.65 ,90.29 และ86.17 ต่อประชากรแสนคน ส่วนอัตราป่วยด้วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อ คือ 52.95, 44.32, 58.90, 60.04 และ 44.86 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ ผลการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมวัณโรค ในปี 2557-2560 พบว่า อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค (Successrate ) ร้อยละ 84.2, 82.5, 81.5 และ 76.97( ไตรมาส 1/60 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559) ตามลำดับ ส่วนอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวัณโรคในระหว่างการรักษา (Deathrate)ร้อยละ 9.84, 9.05, 9.22 และ 8.63 (ไตรมาส 1/60 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559)ตามลำดับ อัตราการขาดยา (Defaultrate)คือร้อยละ 3.49, 5.05, 6.78 และ7.91( ไตรมาส 1/60 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2559) ตามลำดับ ส่วนในเขตอำเภอเมืองผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรคปี 2558-2560อัตรารักษาหายขาด(Success Rate) คือ ร้อยละ67.61,71.11และ68.85 อัตราการขาดยา(Default rate)คือ ร้อยละ9.06,8.89 และ21.86 ตามลำดับ และเขตตำบลสะบารัง ตำบลอาเนาะรู และตำบลจะบังติกอผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรคปี 2558-2560 อัตรารักษาหายขาด (Success Rate) คือ ร้อยละ56.00,80.00 และ58.33อัตราการขาดยา (Default rate) คือ ร้อยละ12.00,4.00และ8.33 ตามลำดับ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าผลการปฏิบัติงานป้องกันควบคุมวัณโรคที่สำคัญ คือ อัตรา ความครอบคลุมในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ แม้จะไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ คือ 70 ต่อแสนประชากร แต่อัตราการรักษาหายขาดยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือมากกว่า ร้อยละ 90 และอัตราการขาดยาสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือไม่เกินร้อยละ 5 สาเหตุสำคัญที่ทำให้ผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรคไม่บรรลุตามเกณฑ์ที่กำหนดเนื่องจากการดำเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรคโดยการมีพี่เลี้ยงในการติดตามดูแลกำกับการรับประทานยาของผู้ป่วยวัณโรคยังไม่มีประสิทธิภาพมากพอ ประกอบกับผู้ป่วยวัณโรคยังขาดความตระหนักในการรับประทานยาอย่างต่อเนื่องจนหายขาดนั้นก็แสดงว่าการดำเนินงานป้องกันควบคุม วัณโรคจะประสบความสำเร็จได้นั้นขึ้นอยู่กับการมีพี่เลี้ยงเพื่อติดตามควบคุมกำกับการรับประทานยาของผู้ป่วยวัณโรคอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องทุกวัน ในส่วนของผู้ป่วยวัณโรคเองก็ต้องมีความรู้ความเข้าใจและรับประทานยาครบทุกมื้อตลอดจนระยะเวลาในการรักษา ซึ่งจะส่งผลต่ออัตราการรักษาหายขาดเพิ่มขึ้น อัตราการขาดยาลดลง และที่สำคัญที่สุดคือปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน( MultiDrug Resistance: MDR) ก็จะลดน้อยลงเช่นกันนอกจากนี้ การค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วยยังเป็นปัญหาที่จะต้องดำเนินการค้นหา ดังนั้นกลวิธีที่สำคัญที่ต้องจำเป็นนำมาใช้คือ การมีเครือข่ายในการติดตาม ดูแล ควบคุมกำกับการรับประทานยา พร้อมการให้คำแนะนำในเรื่องความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยวัณโรคอย่างต่อเนื่องทุกวันตลอดจนสิ้นสุดการรักษา ตลอดจนการค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วย รวมถึงกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง(ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วย COPDและAsthma) จึงได้จัดทำโครงการโครงการเสริมสร้างเครือข่ายในการค้นหา ติดตาม ดูแล ควบคุมกำกับการรักษาผู้ป่วยวัณโรค ภายใต้กลวิธี DOTS อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2561 เพื่อเป็นการค้นหา ดูแลติดตาม ควบคุมกำกับการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยได้รับประทานยาอย่างต่อเนื่องทุกวัน จนสิ้นสุดการรักษา

โดยจะสงผลทำให้การรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดหายขาดเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะลดการแพร่ระบาดของวัณโรคในพื้นที่ เขตเทศบาลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.เชี่ยวชาญในการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ๒.เพื่อให้ อสม.สามารถเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี ของชุมชนตนเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 206
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    อสม.มีความรู้ความเข้าใจในอุปกรณ์เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย DSPM และสามาถนำเครื่องมือ DSPM มาใช้ดูแลส่งเสริม เด็กในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผน  เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมซึ่งเป็น อสม.ติดภาระกิจ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.เชี่ยวชาญในการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม
    0.00

     

    2 ๒.เพื่อให้ อสม.สามารถเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี ของชุมชนตนเองได้
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 206
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 206
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.เชี่ยวชาญในการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี อย่างมีประสิทธิภาพ (2) ๒.เพื่อให้ อสม.สามารถเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี ของชุมชนตนเองได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการร่วมใจพัฒนาทักษะ อสม.เพื่อ IQ เด็กเทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิสากรสะแลแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด