โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา หมีนคลาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยได้รับผลกระทบจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคมตลอดจนการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนา ซึ่งทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของเราเปลี่ยนไปเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่สมดุล เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมทั้งทางด้านอากาศ น้ำ อาหาร ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่แออัด และมีพฤติกรรมที่เอื้อต่อการเกิดโรคจากการดำเนินชีวิตและการมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมขาดความสนใจและละเลยต่อการดูแลสุขภาพโดยเฉพาะสุขภาพของเด็กและและเยาวชน เช่น การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย ขาดความเอาใจใส่ในเรื่องสุขบัญญัติ และสุขภาพองค์รวม(Holistic health System) หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การที่จะมีสุขภาพดีอย่ายั่งยืนและสุขภาพดีถ้วนหน้านั้น ต้องนำเอาหลักการสุขภาพองค์รวมมาแก้ปัญหา โดยมองว่าสุขภาพมิใช่เป็นเพียงการตั้งรับเพื่อซ่อมสุขภาพเท่านั้น แต่ควรส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพ โดยให้ประชาชนสามารถสร้างเสริมสุขภาพที่ดีด้วยตนเอง สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคนเริ่มตั้งแต่เกิดจนตาย การมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ มีประสิทธิภาพและคุณภาพงานเต็มที่ และการมีสุขภาพดีเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย เด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียน เป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญอย่างยิ่งของการพัฒนา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในปีเด็กสากล พุทธศักราช 2522 พระราชดำรัสว่า "เด็กเป็นผู้รับช่วงทุกสิ่งทุกอย่างจากผู้ใหญ่ รวมทั้งภาระความรับผิดชอบในการธำรงรักษา ความสุขสงบของประชากรโลก" จากพระราชดำรัสมองเห็นได้ว่า เด็กและเยาวชนเป็นบุคคลสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อจากผู้ใหญ่ ในฐานะครู ผู้ปกครองเด็กเป็นบุคคลที่มีความสำคัญ ในการปลูกฝังและเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งทางด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ และสติปัญญา ดังนั้นเด็กและเยาวชนควรได้รับการส่งเสริมการดูแล เรื่องสุขบัญญัติ การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน การบริโภคอาหารที่ถูกโภชนาการ การออกกำลังกาย การเสริมสร้างสุขภาพ และสุขภาพองค์รวม(Holislic Health System) การที่ส่งเสริมให้ผู้ปกครอง มีความรู้และและได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก และรณรงค์ให้เห็นความสำคัญของเด็กเล็กฟันดี และควรให้เด็กและเยาวชนรู้จักจักใช้ชีวิตประจำวันโดยนำเอาสุขบัญญัติที่ดี การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย การส่งเสริมสุขภาพผ่านกิจกรรมด้านกีฬา นันทนาการในวัยเด็ก ถือว่าการออกกำลังยังช่วยให้เด็กเล็กมีการตัดสินใจที่ดีขึ้น ประสาทและกล้ามเนื้อมีความสัมพันธ์กันและเป็นการปูพื้นฐานทักษะ ทำให้เด็กรู้จักควบคุมกล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวได้ดี การเคลื่อนไหวในขั้นยากๆเมื่อเติบโตขึ้นและการออกกำลังกายนั้นสามารถช่วยลดอัตราความเครียดเสริมสร้างสมาธิของเด็กซึ่งช่วยในการพัฒนาการของเด็กและเยาวชนได้เ็นอย่างดี ในด้านร่างกาย อารมณ์ ังคมและสติปัญญา สำนักส่งเสริมสุขภาพกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข(๒๕๔๕) กล่าวถึงแนวคิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพการดำเนินงานพัฒนาที่มีความครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของทุกคนทั้งในโรงเรียนและชุมชน ให้สามารถนำความรู้และทักษะด้านสุขภาพมาประยุกใช้ในชีวิตประจำวัน ด้วยการดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเองและู้อื่น รวมทั้งสามารถตัดสินใจในการควบคุมสภาวะการณ์ที่มีผลต่อสุขภาพ โดยเฉพาะนักเรียนจะได้รับการปลูกฝังทัศนคติ ฝึกทักษะและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สมาชิกในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย ทำให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประกอบด้วยกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้อถิ่นหรือพื้นที่ มีเจตนารมณ์ในการร้างการมีส่่วนร่วมขององค์กรณ์ปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนไนพื้นที่ สนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ การดูแลสุขภาพตนเอง การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ ตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการดำรงค์ชีวิต สามารถดูแลได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง(สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.),๒๕๕๗ กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นทีี่่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่
โรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล และกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงู ในฐานะสถาบันที่พัฒนาเด็กเล็ก เด็กวัยก่อนเรียน ได้เล็งเห็นความสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชน เนื่องจากเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯพ.ศ.๒๕๕๗ ที่ ต้องส่งเสริมพัฒนาการ กระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์ในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียนเด็กวัยเรียนและเยาวชน สถานศึกษา ชุมชน และครู บุคลากร ผู้ปกครอง มีบทบาทสำคัญยิ่งในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน การปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ การเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆ เพื่อให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น จึงได้มีการดำเนินโครงการหฯูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงูเพื่อดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนอย่างต่อเนื่อ สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพของโรงเรียนด้านการจัดการสุขภาพนำมาซึ่งการผ่านการประเมินและรับรองการเป็นโรเรียนส่งเสริมสุขภาพในโอกาสต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง
- เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงัยเด็กก่อนวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- หนูมะพร้าวฟันดียิ้มสวย
- โภชนาการที่ดีห้วยมะพร้าว
- นันทนาการส่งเสริมสุขภาพ
- มหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
44
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
44
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
2.มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
3.เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง
4.นักเรียนพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. หนูมะพร้าวฟันดียิ้มสวย
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ให้ความรู้และได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก มีความรู้ความเข้าใจ และวิธีการรักษาดูแลช่องปาก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ทันตสุขภาพที่ดีอย่างถูกวิธี
44
0
2. โภชนาการที่ดีห้วยมะพร้าว
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ส่งเสริมพฤติกรรมเด็กปฐมวัยและผุ้ปกครองนักเรียน ให้มีความรู้และได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าทางโภชนาการ การลริโภคอาหารที่สุก สะอาดและปลอดภัย รุ้จักเลือกกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ให้หลากหลายและพอเพียง จัดกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ ิจกรรมทักษะการปรุงอาหารท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองนักเรียนและเด็กปฐมวัยมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการที่ดีขึ้น
0
0
3. นันทนาการส่งเสริมสุขภาพ
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ส่งเสริมและสร้างพฤติกรรมเด็กก่อนวัยเรียนระดับปฐมวัย ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้ ความสามารถ และได้ตระหนักถึงความสำคัญวิธีการดูแลสุขภาพ รุ้จักการแอกกำลังกายทเล่นเกมนันทนาการและเล่นกีฬา ที่เหมาะสมกับวัน การำัฒนาสุขภาพเพื่อป้องกันโรค สู่การพัฒนาการทักษะชีวิตที่ดีทจัดสัปดาห์ส่งเสริมสุขภาพนักเรียน กิจกรรมการออกกำลังกายจัดสัปดาห์ส่งเสริมสมรรถนะทางร่างกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนระดับปฐมวัยให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพร่างกาย รุ้จักออกกำลังกาย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
44
0
4. มหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ส่งเสริมและสร้างพฤติกรรมเด็กก่อนวัยเรีนรระดับปฐมวัย ให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความสามารถ และได้ตระหนักถึงความสำคัญการพัฒนาพื้นฐาน ให้มีความรู้และความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน โดยจัดกิจกรรมการสร้างสรรค์สื่อเพื่อเด็กก่อนวัยเรียน ด้านอารมณ์จืตใจด้านทักษะชีวิต ด้านการเรียนรู้ กิจกรรมฝึกทักษะสร้างสื่อเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความสามารถ และได้ตระหนักถึงความสำคัญการพัฒนาพื้นฐาน มีความรู้และความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน
44
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด :
90.00
2
เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด :
80.00
3
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง
ตัวชี้วัด :
80.00
4
เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงัยเด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
88
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
44
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
44
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ (3) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง (4) เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงัยเด็กก่อนวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) หนูมะพร้าวฟันดียิ้มสวย (2) โภชนาการที่ดีห้วยมะพร้าว (3) นันทนาการส่งเสริมสุขภาพ (4) มหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายปรีชา หมีนคลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา หมีนคลาน
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยได้รับผลกระทบจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคมตลอดจนการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนา ซึ่งทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของเราเปลี่ยนไปเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่สมดุล เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมทั้งทางด้านอากาศ น้ำ อาหาร ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่แออัด และมีพฤติกรรมที่เอื้อต่อการเกิดโรคจากการดำเนินชีวิตและการมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมขาดความสนใจและละเลยต่อการดูแลสุขภาพโดยเฉพาะสุขภาพของเด็กและและเยาวชน เช่น การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย ขาดความเอาใจใส่ในเรื่องสุขบัญญัติ และสุขภาพองค์รวม(Holistic health System) หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การที่จะมีสุขภาพดีอย่ายั่งยืนและสุขภาพดีถ้วนหน้านั้น ต้องนำเอาหลักการสุขภาพองค์รวมมาแก้ปัญหา โดยมองว่าสุขภาพมิใช่เป็นเพียงการตั้งรับเพื่อซ่อมสุขภาพเท่านั้น แต่ควรส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพ โดยให้ประชาชนสามารถสร้างเสริมสุขภาพที่ดีด้วยตนเอง สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคนเริ่มตั้งแต่เกิดจนตาย การมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ มีประสิทธิภาพและคุณภาพงานเต็มที่ และการมีสุขภาพดีเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย เด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียน เป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญอย่างยิ่งของการพัฒนา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในปีเด็กสากล พุทธศักราช 2522 พระราชดำรัสว่า "เด็กเป็นผู้รับช่วงทุกสิ่งทุกอย่างจากผู้ใหญ่ รวมทั้งภาระความรับผิดชอบในการธำรงรักษา ความสุขสงบของประชากรโลก" จากพระราชดำรัสมองเห็นได้ว่า เด็กและเยาวชนเป็นบุคคลสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อจากผู้ใหญ่ ในฐานะครู ผู้ปกครองเด็กเป็นบุคคลที่มีความสำคัญ ในการปลูกฝังและเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งทางด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ และสติปัญญา ดังนั้นเด็กและเยาวชนควรได้รับการส่งเสริมการดูแล เรื่องสุขบัญญัติ การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน การบริโภคอาหารที่ถูกโภชนาการ การออกกำลังกาย การเสริมสร้างสุขภาพ และสุขภาพองค์รวม(Holislic Health System) การที่ส่งเสริมให้ผู้ปกครอง มีความรู้และและได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก และรณรงค์ให้เห็นความสำคัญของเด็กเล็กฟันดี และควรให้เด็กและเยาวชนรู้จักจักใช้ชีวิตประจำวันโดยนำเอาสุขบัญญัติที่ดี การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย การส่งเสริมสุขภาพผ่านกิจกรรมด้านกีฬา นันทนาการในวัยเด็ก ถือว่าการออกกำลังยังช่วยให้เด็กเล็กมีการตัดสินใจที่ดีขึ้น ประสาทและกล้ามเนื้อมีความสัมพันธ์กันและเป็นการปูพื้นฐานทักษะ ทำให้เด็กรู้จักควบคุมกล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวได้ดี การเคลื่อนไหวในขั้นยากๆเมื่อเติบโตขึ้นและการออกกำลังกายนั้นสามารถช่วยลดอัตราความเครียดเสริมสร้างสมาธิของเด็กซึ่งช่วยในการพัฒนาการของเด็กและเยาวชนได้เ็นอย่างดี ในด้านร่างกาย อารมณ์ ังคมและสติปัญญา สำนักส่งเสริมสุขภาพกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข(๒๕๔๕) กล่าวถึงแนวคิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพการดำเนินงานพัฒนาที่มีความครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของทุกคนทั้งในโรงเรียนและชุมชน ให้สามารถนำความรู้และทักษะด้านสุขภาพมาประยุกใช้ในชีวิตประจำวัน ด้วยการดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเองและู้อื่น รวมทั้งสามารถตัดสินใจในการควบคุมสภาวะการณ์ที่มีผลต่อสุขภาพ โดยเฉพาะนักเรียนจะได้รับการปลูกฝังทัศนคติ ฝึกทักษะและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สมาชิกในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย ทำให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประกอบด้วยกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้อถิ่นหรือพื้นที่ มีเจตนารมณ์ในการร้างการมีส่่วนร่วมขององค์กรณ์ปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนไนพื้นที่ สนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ การดูแลสุขภาพตนเอง การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ ตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการดำรงค์ชีวิต สามารถดูแลได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง(สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.),๒๕๕๗ กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นทีี่่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่
โรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล และกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงู ในฐานะสถาบันที่พัฒนาเด็กเล็ก เด็กวัยก่อนเรียน ได้เล็งเห็นความสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชน เนื่องจากเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯพ.ศ.๒๕๕๗ ที่ ต้องส่งเสริมพัฒนาการ กระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ ความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์ในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียนเด็กวัยเรียนและเยาวชน สถานศึกษา ชุมชน และครู บุคลากร ผู้ปกครอง มีบทบาทสำคัญยิ่งในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน การปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ การเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆ เพื่อให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น จึงได้มีการดำเนินโครงการหฯูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงูเพื่อดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนอย่างต่อเนื่อ สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพของโรงเรียนด้านการจัดการสุขภาพนำมาซึ่งการผ่านการประเมินและรับรองการเป็นโรเรียนส่งเสริมสุขภาพในโอกาสต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง
- เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงัยเด็กก่อนวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- หนูมะพร้าวฟันดียิ้มสวย
- โภชนาการที่ดีห้วยมะพร้าว
- นันทนาการส่งเสริมสุขภาพ
- มหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 44 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 44 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง 2.มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ 3.เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง 4.นักเรียนพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. หนูมะพร้าวฟันดียิ้มสวย |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำให้ความรู้และได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก มีความรู้ความเข้าใจ และวิธีการรักษาดูแลช่องปาก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ทันตสุขภาพที่ดีอย่างถูกวิธี
|
44 | 0 |
2. โภชนาการที่ดีห้วยมะพร้าว |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำส่งเสริมพฤติกรรมเด็กปฐมวัยและผุ้ปกครองนักเรียน ให้มีความรู้และได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีคุณค่าทางโภชนาการ การลริโภคอาหารที่สุก สะอาดและปลอดภัย รุ้จักเลือกกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ให้หลากหลายและพอเพียง จัดกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ ิจกรรมทักษะการปรุงอาหารท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองนักเรียนและเด็กปฐมวัยมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการที่ดีขึ้น
|
0 | 0 |
3. นันทนาการส่งเสริมสุขภาพ |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำส่งเสริมและสร้างพฤติกรรมเด็กก่อนวัยเรียนระดับปฐมวัย ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้ ความสามารถ และได้ตระหนักถึงความสำคัญวิธีการดูแลสุขภาพ รุ้จักการแอกกำลังกายทเล่นเกมนันทนาการและเล่นกีฬา ที่เหมาะสมกับวัน การำัฒนาสุขภาพเพื่อป้องกันโรค สู่การพัฒนาการทักษะชีวิตที่ดีทจัดสัปดาห์ส่งเสริมสุขภาพนักเรียน กิจกรรมการออกกำลังกายจัดสัปดาห์ส่งเสริมสมรรถนะทางร่างกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนระดับปฐมวัยให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพร่างกาย รุ้จักออกกำลังกาย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
|
44 | 0 |
4. มหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำส่งเสริมและสร้างพฤติกรรมเด็กก่อนวัยเรีนรระดับปฐมวัย ให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความสามารถ และได้ตระหนักถึงความสำคัญการพัฒนาพื้นฐาน ให้มีความรู้และความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน โดยจัดกิจกรรมการสร้างสรรค์สื่อเพื่อเด็กก่อนวัยเรียน ด้านอารมณ์จืตใจด้านทักษะชีวิต ด้านการเรียนรู้ กิจกรรมฝึกทักษะสร้างสื่อเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความสามารถ และได้ตระหนักถึงความสำคัญการพัฒนาพื้นฐาน มีความรู้และความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน
|
44 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง ตัวชี้วัด : |
90.00 |
|
||
2 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : |
80.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง ตัวชี้วัด : |
80.00 |
|
||
4 | เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงัยเด็กก่อนวัยเรียน ตัวชี้วัด : |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 88 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 44 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 44 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ (3) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง (4) เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงัยเด็กก่อนวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) หนูมะพร้าวฟันดียิ้มสวย (2) โภชนาการที่ดีห้วยมะพร้าว (3) นันทนาการส่งเสริมสุขภาพ (4) มหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายปรีชา หมีนคลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......