กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม5 กันยายน 2561
5
กันยายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยนางสาวปรางมาศ จันทร์คง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่อง 3 อ 2 ส. โดยนางสาวมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่องปิงปองจราจรชีวิต 7 สี โดยนางสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดร้อยละ 90
  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีได้รับความรู้ในการปฏิบัติและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  • ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  • ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
  • ลดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย
จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายแบ่งเป็นกลุ่มๆ ละ ไม่เกิน 50 คน5 กันยายน 2561
5
กันยายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ให้ความรู้เรื่องสาเหตุของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่อง อันตรายของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยนางสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่องแนวทางการรักษาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยนางสาวมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดร้อยละ 90
  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีได้รับความรู้ในการปฏิบัติและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  • ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  • ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
  • ลดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย