กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2561

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2561

ชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา

รหัสโครงการ 61-L2482-1-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน ตุลาคม 2560 ถึงเดือน กันยายน 2561

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายแบ่งเป็นกลุ่มๆ ละ ไม่เกิน 50 คน

วันที่ 5 กันยายน 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดร้อยละ 90
  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีได้รับความรู้ในการปฏิบัติและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  • ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  • ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
  • ลดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ให้ความรู้เรื่องสาเหตุของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่อง อันตรายของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยนางสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่องแนวทางการรักษาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยนางสาวมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

 

1,000 0

2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 5 กันยายน 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดร้อยละ 90
  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีได้รับความรู้ในการปฏิบัติและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
  • ผู้ที่ตรวจคัดกรองพบความเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์วินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  • ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
  • ลดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยนางสาวปรางมาศ จันทร์คง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่อง 3 อ 2 ส. โดยนางสาวมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • ให้ความรู้เรื่องปิงปองจราจรชีวิต 7 สี โดยนางสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 2 2                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 42,500.00 42,500.00                  
คุณภาพกิจกรรม 8 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์
ผู้รับผิดชอบโครงการ