กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการ อย.น้อย ปี 2561 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์

ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อย ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-008 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อย.น้อย ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อย.น้อย ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อย.น้อย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2482-1-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคนและต้องบริโภคกันอยู่ทุกวัน จะแน่ใจได้อย่างไรว่าอาหารที่เราบริโภคอยู่ทุกวันนี้มีความสะอาดปลอดภัย หากผู้บริโภคปรุงอาหารด้วยตนเองก็มั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยในระดับหนึ่ง แต่คนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารนอกบ้านมารับประทาน ทำให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่า อาหารมีความปลอดภัยเพียงพอทำให้เกิดความเสี่ยงมากกว่า ในปัจจุบันมีพ่อค้า แม่ค้าที่เอาเปรียบผู้บริโภค โดยนำวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำมาประกอบอาหาร หรือมีการเติมสารห้ามใช้ในอาหารบางอย่างลงไปเช่น บอแรกส์ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ เป็นต้น รวมทั้งมีการปรุงอาหารอย่างไม่ถูกสุขลักษณะไม่สะอาด ไม่เหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ ดังนั้นหากผู้บริโภคขาดความรู้ ความเข้าใจอย่างเพียงพอในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร ก็จะยิ่งทำให้ไม่สามารถเลือกซื้อ หรือเก็บรักษาอาหารได้ถูกต้อง และไม่สามารถดูแลปกป้องตนเองจากพิษภัยของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ และเนื่องจากเราทุกคนต้องกินอาหารทุกวันตั้งแต่เกิดจนตาย ดังนั้น การให้ความรู้เบื้องต้นเรื่องความปลอดภัย ของอาหารจึงควรทำแต่เนิ่นๆที่สุดคือวัยเด็ก วัยที่สามารถเรียนรู้ได้อย่างรวดเร้วเพื่อที่จะปลูกฝังให้เป็นพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ตลอดไป ถึงแม้ว่าเด็กที่เติบโตขึ้นจะเป็นเพียงผู้บริโภค หรือเป็นผู้ประกอบการการผลิตอาหารเองด้วยในอนาคตก็ตาม การตระหนักในความสำคัญของความปลอดภัยของอาหาร ความสะอาด รู้จักดูแล หยิบจับเก็บรักษาอาหารอย่างถูกต้อง การรู้จักปกป้องตนเอง รู้จักการเลือก สังเกต หรือทดสอบและรู้จักปฏิเสธอาหารที่ไม่ปลอดภัย จึงเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และฝึกฝนตั้งแต่เด็กเพื่อให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ตลอดไปอย่างยั่งยืน ทางรพ.สต.บ้านโคกมือบา เล็งเห็นว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่างๆของคนหากเริ่มต้นได้ตั้งแต่เด็ก จะส่งผลถึงภาวะสุขภาพในระยะยาว เพราะโรคเรื่อรังหลายๆโรค เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง สะสมมาเป็นระยะเวลายาวนานหลายปี จึงส่งผลให้ป่วยด้วยโรคต่างๆเมื่ออายุเยอะขึ้น รพ.สต.บ้านโคกมือบาจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้ประกอบอาหารของครูอนามัยโรงเรียนสามารถเลือกวัตถุดิบในการประกอบให้กับเด็กนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  3. เพื่อผู้บริโภคอาหารโรงเรียนมีความปลอดภัยจากการบริโภค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้แก่นักเรียน/ผู้ประกอบอาหาร/ครูอนามัยโรงเรียน (ร.ร.บ้านปะลุกาและร.ร.บ้านโคกมือบา)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง
  2. นักเรียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำผู้อื่นต่อไป
  3. ผู้ประกอบอาหารของ/ครูอนามัยโรงเรียนสามารถเลือกวุตถุดิบในการประกอบอาหารให้กับเด็กนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้แก่นักเรียน/ผู้ประกอบอาหาร/ครูอนามัยโรงเรียน (ร.ร.บ้านปะลุกาและร.ร.บ้านโคกมือบา)

วันที่ 21 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงกิจกรรม อย.น้อย ปี 2561 โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ให้ความรู้เรื่อง อาหารปลอดภัย โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ให้ความรู้เรื่อง อ่านฉลาก อย่างฉลาด รู้ไว้ไม่ถูกหลอก โดยนางสาวสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สาธิตและฝึกปฏิบัติการตรวจสุขภาพนักเรียนด้วยตนเอง โดยนางสาวฮายาตี นาปี เจ้าพนัักงานสาธารณสุขชำนาญงาน ให้ความรู้เรื่อง อาหารขยะ อาหารอันตราย โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 ได้รับความรู้ในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสม และมีประโยชน์
  2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 สามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง และสามารถแนะนำน้องๆได้
  3. ผู้ประกอบอาหาร และครูอนามัยโรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 สามารถเลือกวัตถุดิบในการประกอบอาหารให้กับเด็กนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ 100

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 ได้รับความรู้ในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสม และมีประโยชน์
  2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 สามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง และสามารถแนะนำน้องๆได้
  3. ผู้ประกอบอาหาร และครูอนามัยโรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 สามารถเลือกวัตถุดิบในการประกอบอาหารให้กับเด็กนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถตอบคำถามได้อย่างถูกต้องอย่างน้อย
80.00 100.00

 

2 ผู้ประกอบอาหารของครูอนามัยโรงเรียนสามารถเลือกวัตถุดิบในการประกอบให้กับเด็กนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : วัตถุดิบของโรงครัวในโรงเรียนถูกต้องตามหลักของงานคุ้มครองผู้บริโภค
100.00 100.00

 

3 เพื่อผู้บริโภคอาหารโรงเรียนมีความปลอดภัยจากการบริโภค
ตัวชี้วัด : ผู้บริโภคไม่เจ็บป่วยด้วยสาเหตุการบริโภคอาหารของโรงเรียน
90.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง (2) ผู้ประกอบอาหารของครูอนามัยโรงเรียนสามารถเลือกวัตถุดิบในการประกอบให้กับเด็กนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อผู้บริโภคอาหารโรงเรียนมีความปลอดภัยจากการบริโภค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แก่นักเรียน/ผู้ประกอบอาหาร/ครูอนามัยโรงเรียน (ร.ร.บ้านปะลุกาและร.ร.บ้านโคกมือบา)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อย.น้อย ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด