กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดยะลา ปี 2560 ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ หมาดอะดำ และทีมพี่เลี้ยงจังหวัดยะลา

ชื่อโครงการ โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดยะลา ปี 2560

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-FW-95000 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดยะลา ปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดยะลา ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดยะลา ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-FW-95000 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นในความรับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลามีจำนวน 617 แห่งข้อมูลจากระบบบริหารจัดการกองทุนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ www.localfund.happynetwork.org พบว่า มีเงินคงเหลือสะสมจากหลายปีที่ผ่านมา จำนวน 385 ล้านบาทและจะมีเงินจัดสรรจาก สปสช.ตามข้อกำหนด 45 บาท/หัวประชากร จำนวน 218 ล้านบาท และเงินสมทบตามขนาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละ 30-60อีก 116 ล้านบาท รวมแล้วจะมีเงินสำหรับดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพตำบล ไม่ตำกว่า 724 ล้านบาท ส่วนหนึ่ง พบว่า เนื่องจากการตรวจสอบที่เข้มแข็งมากยิ่งขึ้นของหน่วยงานภายนอกที่ทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้เงินกองทุน ฯ แต่สาเหตุสำคัญ คือ การขาดการวางแผนเชิงระบบเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ขาดแผนงานและโครงการ ตลอดจนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ แบบเชิงรุก เป็นต้น
ผู้บริหารของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดนโยบายสำคัญ คือ การบริหารเงินกองทุนที่สะสมในกองทุนให้คงเหลือไม่เกิน ร้อยละ 10 ของเงินคงเหลือทั้งหมด ทางสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา จึงถือเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการ ที่ผ่านมาทาง สปสช. เขต 12 สงขลา ดำเนินการดังนี้ 1)การจัดทำแผนสุขภาพระดับเขตแก่กองทุนสุขภาพตำบลที่เงินคงเหลือเกิน 2 ล้านบาท เพื่อให้สามารถนำเงินกองทุนสุขภาพตำบลไปใช้ในการแก้ไขปัหาสุขภาพที่เป็นปัญหาร่วมกัน อันประกอบด้วย ประเด็นโรคเรื้อรัง และโรคติดต่อ ประเด็นแม่ตั้งครรภ์และเด็กแรกคลอด ประเด็นภาวะโภชนาการเด็ก ประเด็นอุบัติเหตุและความไม่ปลอดภัยในชุมชน ประเด็นสารเสพติด บุหรี่ ยา 4X100 ประเด็นการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 2)การจัดอบรมและพัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง(Coaching Team) เพื่อสนับสนุนการจัดทำแผนงานและโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล 3)การจัดทำระบบโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล www.localfund.happynetwork.orgเพื่อใช้สนับสนุนการบริหารกองทุนและช่วยติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ 4)การลงติดตามและสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลของทีมพี่เลี้ยง (Coaching Team)

ดังนั้น เพื่อการสนับสนุนการดำเนินงาน กองทุนฯ ที่มีประสิทธิภาพโดยทีมพี่เลี้ยง ทาง สปสช.เขต 12 สงขลาจึงจัดทำโครงการเสริมพลังกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ระดับเขต 12 สงขลา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้ทีมพี่เลี้ยง (Coaching Team) ลงสนับสนุนการทำงานของกองทุนฯ ติดตามการทำงานและให้กองทุนฯรายงานผลโครงการผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์
  2. เพื่อให้กองทุนสุขภาพตำบลในจังหวัดยะลามีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ได้รับการเสริมพลังจากทีมพี่เลี้ยง อย่างน้อยกองทุนละ 1 ครั้ง
    2. กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่สามารถจัดทำโครงการฯเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ และสามารถลงข้อมูลในโปรแกรมระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบลออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org
    3. เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่สามารถใช้ในการดำเนินโครงการจนไม่เกินร้อยละ 10

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ลงสนับสนุนติดตามการจัดทำโครงการ กองทุนเทศบาลตำบลโกตาบารู อ.รามัน

    วันที่ 17 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -แกนนำกลุ่มองค์กร / ชุมชน /ชมรมต่างๆรวมถึงหน่วยงาน เข้าใจในแนวทางและหลักการการดำเนินงานของกองทุน
    -แกนนำกลุ่มองค์กร / ชุมชน /ชมรมต่างๆรวมถึงหน่วยงาน รับทราบแนวทางการเขียนดครงการและหลักเกณฑ์ของกำหนดในการเขียนโครงการ -เกิดมติข้อตกลงในความเข้าใจเรื่องการเขียนรายละเอียดงบประมาณในโครงการ

     

    30 30

    2. ประชุมชี้แจงพี่เลี้ยง จ.ครั้งที่ 1 เพื่อออกแบบการติดตามและวางแผนลงพื้นที่

    วันที่ 17 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้แนวทางในการทำงานร่วมกันระหว่าง เขต12 ทีมพี่เลี้ยง และกองทุนพื้นที่ 2. ได้แผนและพื้นที่รับผิดชอบของพี่เลี้ยงในทีมจังหวัด

     

    20 15

    3. ลงสนับสนุนพัฒนาโครงการ เทศบาลโกตาบารู อำเภอรามัน

    วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อพิจารณาผ่านโครงการในเวทีอนุกรรมการฯกองทุน จำนวน 5 โครงการ

     

    10 10

    4. ลงสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ โดย มาเรียม

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงพื้นที่..........................................................

     

    12 10

    5. เยี่ยมเสริมพลังและลงสนัสนุนกองทุนตำบล อบต.ตะโละหะลอ

    วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.แนะนำการคีย์ในระบบ 2.แนะนำการสนับสนุนงบประมาณ 5 กลุ่ม 3.การใช้จ่ายงบบริหารกองทุนตำบล 4.แนวทางการคัดเลือกโครงการที่มีคุณภาพ 5.ทำความเข้าใจกับผู้บริหารกองทุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบกองทุนเข้าใจวิธีการคีย์เข้าระบบและผุ้บริหารกองทุนมีความเข้าใจในแนวคิดของสปสช.และการใช้จ่ายเงินของกองทุนมากขึ้นจนมีการวางแผนให้ผุ้เกี่ยวข้องในตำบลส่งแผนงาน/โครงการให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณา

     

    10 10

    6. ลงสนับสนุนการจัดทำแผนและการจัดทำโครงการ อบต.ลำใหม่ โดย ซัลมา

    วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การชี้แจงการอนุมัติโครงการ และขั้นตอนการลงระบบ จนถึงการเบิกจ่าย ในแต่ละโครงการของโรงพยาบาลส่่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ ให้เป็นไปอย่างถูกต้อง เรียบร้อย

     

    15 16

    7. พัฒนากลั่นกรองโครงการ อบต.บือมัง โดย ประพันธ์ และทีมพี่เลี้ยง

    วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่วมพิจารณากลั่นกรองโครงการและให้คำแนะนำในการพัฒนาโครงการในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่จำนวน1วันณอบต.บือมัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำกลุ่มองค์กรต่างๆในตำบลบือมัง ที่เสนอโครงการ  ได้รับการพิจารณา/ขอแนะนำ สามารถดำเนินการปรับรายละเอียดโครงการฯได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับปัญหาที่จะดำเนินการแก้ไข

     

    20 20

    8. ลงสนับสนุนติดตามและการจัดทำแผนและการจัดทำโครงการ อบต.กาบัง โดย ซัลมา

    วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การจัดทำแผน การจัดทำโครงการ และการติดตามกลุ่มองค์กรที่เสนอโครงการเพื่อขอรัับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การให้คำแนนะนำในการจัดทำแผนการตามเวลาที่กหนด การพิจารณาโครงการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ สปสช  การคีย์ข้อมูลต่างๆ เข้าระบบ ตลอดจนการทำข้อตกลง และการทำใบเบิก

     

    15 15

    9. ประชุมพี่เลี้ยง จ.ยะลาครั้งที่ 2

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมพี่เลี้ยง เพื่อติดตามการทำงานในระยะที่ 2 พบว่า กองทุนยังไม่มีความคล่องตัวในการใช้เวปติดตามโครงการ และต้องอาศัยทีมพี่เลี้ยงในการลงพื้นที่ให้ความช่วยเหลือ และการให้คำปรึกษาผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

    พี่เลี้ยงได้รู้จักมักคุ้นกันดีขึ้น เนื่องจากบางคนยังไม่เคยร่วมกันทำงานมาก่อน การได้มีเวทีพบปะพูคุยก็สร้างการทำงานเป็นทีมได้

     

    15 10

    10. ลงสนับสนุนการติดตามการจัดทำแผน อบต.ลิดล โดย ซัลมา

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 10.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แนะนำทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงาน และบทบาทของของพี่เลี้ยงที่มีต่อกองทุนแต่ละตำบล  แนะนำคณะกรรมการเกี่ยวกับทำแผน และการพิจารณาโครงการต่างๆ ให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่กองทุนกำหนด การเบิกจ่ายตามระเบียบที่กองทุนฯกำหนด รวมทั้งการลงข้อมูลในระบบได้อย่างถูกต้อง

     

    14 15

    11. ลงสนับสนุนการจัดทำโครงการ อบต.ยะลา โดย ซัลมา

    วันที่ 8 มิถุนายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การเรียนรู้โปรแกรมและการลงข้อมูลในระบบอย่างถูกต้อง  การเบิกจ่ายเป็นไปตามระเบียบกองทุน และการพิจารณาอนุมัติโครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ

     

    13 12

    12. ลงสนับสนุนการจัดทำแผนและการจัดทำโครงการ อบต.เปาะเส้ง โดย ซัลมา

    วันที่ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผคณะกรรมการกองทุน ทราบถึงกลไก การทำงานของพี่เลี้ยง และการดำเนินงานของกองทุนระดับท้องถิ่น

     

    15 10

    13. ลงสนับสนุนการจัดทำแผนและการจัดทำโครงการ เทศบาลลำใหม่ โดยซัลมา

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การจัดทำแผนงานโครงการแบบใหม่อย่างถูกต้อง และสามารถลงในระบบตามโปรแกรมที่กองทุนกำหนดให้ และการพิจารณาโครงการให้ตรงและบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

     

    15 10

    14. ลงพื้นที่สนับสนุนกองทุนสุขภาพ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2560 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้ชี้แจงทำความเข้าใจหลักการของ กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ให้กับแกนนำชุมชน กรรมการกองทุน และผู้บริหารท้องถิ่นที่เข้าร่วมในเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ
    2. ได้อบรมและทำความเข้าใจหลักการสนับสนุนกองทุน และการทำแผนสุขภาพของชุมชน โดยใช้งบประมาณของกองทุน
    3. ได้อบรมการเขียนโครงการอย่างง่ายโดยใช้หลักสูตร "ต้นไม้ปัญหา" ให้กับแกนนำชุมชน ผู้แทนกลุ่มองค์กรในพื้นที่

     

    120 120

    15. ลงพืันที่สนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบล อ.ธารโต

    วันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามการลงข้อมูลในเวปไซต์กองทุน การให้คำปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่กองทุน ทำให้มีความเข้าใจการใช้งานเวปไซต์มากขึ้น และสามารถลงข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบันได้

     

    30 15

    16. ลงพื้นที่สนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบล อ.บันนังสตาร์

    วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กองทุนในอำเภอบันนังสตา เป็นกองทุนที่มีปัญหาเรื่องการลงข้อมูล ทั้งข้อมูลประชากร ข้อมูลเงินสมทบ และส่วนใหญ่มักติดต่อทางโทรศัพท์ลำบาก 

     

    30 20

    17. สนับสนุน ติดตามกองทุน และพัฒนาศักยภาพกองทุน จังหวัดยะลา

    วันที่ 11 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวทีการพัฒนาศักยภาพในครั้งนี้ ได้สร้างการเรียนรู้หลายอย่างให้กับคณะทำงานกองทุน เช่น 1. สถุานการณ์ของการทำงานผ่านเวปไซต์ติดตาม และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกองทุนอื่นๆในจังหวัดยะลา ซึ่งไม่เคยมีการจัดให้คำปรึกษาระดับจังหวัดมาก่อน ทำให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ การแก้ปัญหาการทำงานในด้านต่างๆ ร่วมกับพี่เลี้ยง และทีมสนับสนุนจากเขต 12

    1. ได้พบกับพี่เลี้ัยงที่ทำหน้าที่ให้การติดตามกองทุนแต่ละแห่ง ซึ่งหลายที่ได้เคยติดต่อสื่อสาร เพื่อการหนุนเสริมและการติดตามผ่านช่องทางอื่นๆ เช่น ผ่านไลน์ โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น ทำให้ชุมชนได้เกิดความคุ้นเคยกับพี่เลี้ยง

    2. กองทุนได้เรียนรู้เทคนิคการเป็นผู้อำนวยการทำแผนสุขภาพชุมชน โดยใช้รูปแบบที่กำหนดขึ้นในเวปไซต์

     

    100 80

    18. ประชุมถอดบทเรียนและจัดทำรายงานการลงสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบล จ.ยะลา

    วันที่ 12 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการติดตาม

    1. ประเด็นการทำงานของทีมพี่เลี้ยง เนื่องจากเป็นปีแรกของการทำงาน พี่เลี้ยงก็จะมี 2 กลุ่มหลัก คือ ทีมพี่เลี้ยงที่มากจากหน่วยงานท้องถิ่น และทีมที่มาจากภาคเอกชน พบว่าทั้ง2 ทีมมีจุดเด่นต่างกันคือ ทีมที่มาจากท้องถิ่นจะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อกฏหมาย ระเบียบ ส่วนที่มาจากภาคเอกชน จะเชี่ยวชาญด้านเทคนิควิธี ดังนั้น การทำงานหากได้วางแผนให้สอดประสานกันมากขึ้นจะเป็นการเติมเต็มการทำงานเป็นทีมได้ดี พี่เลี้ยงบางส่วนที่ไม่ได้มีบทบาทในปีที่ผ่านมากอันเนื่องจากภารกิจงานส่วนตัว แต่ก็มีการให้ความร่วมมือในงานเท่าที่สามารถเอื้ออำนวยได้

    2.การดำเนินงานของกองทุนท้องถิ่นในปีนี้ มีแนวโน้มการพัฒนาในทางที่ดีขึ้น เช่น การเบิกจ่ายงบประมาณในการสนับสนุนกิจกรรมโครงการ แต่ยังมีอีกหลายกองทุนที่คณะกรรมการกองทุนและคนในชุมชนไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของกองทุนในการหนุนเสริมการจัดการสุขภาพ ยังมีความเชื่อที่ผิด เช่น เป็นเงินสำหรับ ท้องถิ่น และ รพ.สต. เป็นเงินสำหรับงาน อสม. เป็นต้น

    1. การจัดเวทีพบปะกองทุนเป็นกลุ่มสามารถสร้างการเรียนรู้ระหว่างกันได้ดี เนื่องจากมีการตั้งประเด็นปัญหาที่พบเจอระหว่างการดำเนินงานในเวทีกลาง และได้รับการตอบสนองการแก้ไขให้อย่างทันถ่วงที ทำให้เป็นบทเรียนแก่กองทุนอื่นๆ และการร่วมจัดเวทีจะสามารถสร้างความสนใจต่อกองทุนได้

    2. กองทุนส่วนใหญ่มักใช้การสื่อสารทางโทรศัพท์หาพี่เลี้ยง หรือไม่ก็ ส่งไลน์ โดยมีการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีก็สามารถช่วยเหลือการทำงานเชิงเทคนิคบางอย่าง เช่นการใช้ระบบรายงานออนไลน์ เป็นต้น แต่สำหรับเวทีสร้างความเข้าใจ ก็ยังต้องการให้พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับกรรมการกองทุนและตัวแทนชุมชนให้มีศักยภาพได้

    ข้อเสนอแนะ

    1. ควรจัดเวทีพบปะกองทุนในช่วงเริ่มต้นปีงบประมาณ เพื่อเป็นการวางแผนการลงติดตามสนับสนุนของพี่เลี้ยง

    2. ให้มีคลินิคให้คำปรึกษากองทุนในระดับจังหวัด เช่น ใช้วันใดวันหนึ่งและสถานที่ใด เป็นจุดนัดหมาย ให้กองทุนที่ต้องการความช่วยเหลือสามารถเข้ามารับคำปรึกษาได้

     

    10 10

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้ทีมพี่เลี้ยง (Coaching Team) ลงสนับสนุนการทำงานของกองทุนฯ ติดตามการทำงานและให้กองทุนฯรายงานผลโครงการผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดทีมพี่เลี้ยงจังหวัดยะลา จำนวน 14คน 2. เกิดแผนทำงานลงสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลเกี่ยวกับการปรับแผนงานและโครงการด้านสุขภาพภายในจังหวัดยะลา จำนวน 63 แห่ง 3. กองทุนสุขภาพตำบลในจังหวัดยะลาป้อนข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐาน การเงิน โครงการที่ถุกต้อง และบันทึกการทำกิจกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80 ของกองทุนในความรับผิดชอบ

     

    2 เพื่อให้กองทุนสุขภาพตำบลในจังหวัดยะลามีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใส
    ตัวชี้วัด : 1. กองทุนสุขภาพตำบลจำนวน63แห่ง มีแผนดำเนินงานและโครงการด้านการแก้ปัญหาสุขภาพของชุมชน 2. กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารเงินคงเหลือจนสามารถใช้จ่ายในการดำเนินโครงการไม่น้อยกว่า 75 %

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้ทีมพี่เลี้ยง (Coaching Team) ลงสนับสนุนการทำงานของกองทุนฯ ติดตามการทำงานและให้กองทุนฯรายงานผลโครงการผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์ (2) เพื่อให้กองทุนสุขภาพตำบลในจังหวัดยะลามีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใส

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดยะลา ปี 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-FW-95000

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุวิทย์ หมาดอะดำ และทีมพี่เลี้ยงจังหวัดยะลา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด