กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการ ภัยเงียบอันตราย ค้นหามะเร็งปากมดลูกรายใหม่โดยเร็ว ปี 2561 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์

ชื่อโครงการ โครงการ ภัยเงียบอันตราย ค้นหามะเร็งปากมดลูกรายใหม่โดยเร็ว ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-010 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ภัยเงียบอันตราย ค้นหามะเร็งปากมดลูกรายใหม่โดยเร็ว ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ภัยเงียบอันตราย ค้นหามะเร็งปากมดลูกรายใหม่โดยเร็ว ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ภัยเงียบอันตราย ค้นหามะเร็งปากมดลูกรายใหม่โดยเร็ว ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2482-1-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันอัตราการเพิ่มขึ้นของผู้หญิงที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกกำลังพุ่งสูงขึ้นอย่างน่าตกใจ แต่ละปีจะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ราย และเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกประมาณ ๕,๐๐๐ ราย ซึ่งอัตราการเสียชีวิตของผู้หญิงไทยนั้นเพิ่มขึ้นจาก ๗ คนเป็น ๑๔ คน ต่อวัน ตัวเลขที่เพิ่มขึ้นมานี้ส่วนหนึ่งเกิดจากความประมาทเพราะคิดว่าตนเองไม่มีความเสี่ยง แล้วจะเป็นโรคนี้ได้อย่างไร? แต่ในความเป็นจริงผู้หญิงทุกคนเคยผ่านการมีเพศสัมพันธ์มาแล้วมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ทั้งสิ้น แม้จะเป็นเพศสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวก็ตาม จากสถิติรายงานว่า ๓๐ % ของผู้หญิงไทยไม่เคยได้เข้ารับการตรวจแปบสเมียร์เพื่อคัดกรองหาเชื้อมะเร็งปากมดลูกเลย ข่าวดีก็คืิอมะเร็งปากมดลูก สามารถรักษาให้หายขาดได้ หากตรวจพบตั้งแต่ในระยะเริ่มต้น ก่อนจะกลายเป็นมะเร็งปากมดลูกในระยะลุกลาม (ข้อมูลจากสถาบันเซลล์ วิทยา ๑๗ พ.ย.๒๕๖๐) จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขปี ๒๕๖๐ เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ประกอบด้วย จังหวัดปัตตานี คัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๖.๔๕พบผู้ป่วยใหม่จำนวน ๕ คน จังหวัดยะลา คัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมายร้อยละ๕.๗๖พบผู้ป่วยใหม่จำนวน ๑๒ คน จังหวัดนราธิวาสคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๕.๙พบผู้ป่วยใหม่จำนวน ๓ คน เป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้คือสตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปีที่ต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ในรอบ ๕ ปี ร้อยละ ๒๐ จากผลการดำเนินงานของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ข้างต้นสามารถดำเนินการได้น้อยมาก ซึ่งไม่ต่างจากอำเภอตากใบที่ดำเนินการได้ร้อยละ ๑๐.๒๘ และไม่ต่างจากรพ.สต.บ้านโคกมือบาที่ดำเนินการได้เพียงร้อยละ ๑๒.๖๘ ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมและป้องกันโรคให้กับประชาชน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค ตลอดจนทรัพยากรที่จะต้องใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตำบลโฆษิตขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 -60 ปีที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมามีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
  2. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น
  4. เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง
  5. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปีขึ้นไป เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการตรวจเต้านมเป็นประจำทุกเดือนด้วยตนเองได้
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์กำหนด
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเมื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปีขึ้นไป เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

วันที่ 5 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรืองสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก โดยนางสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคมะเร็ง โดยนางสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ให้ความรู้เรื่องแนวทางการรักษามะเร็งระยะที่ 1 และระยะที่ 2 โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ให้ความรู้แนวทางการรักษามะเร็งระยะที่ 3 และระยะที่ 4 โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สตรีวัยเจริญพันธู์เข้าร่วมกิจกรรม การสาธิตการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และรับฟังสุขศึกษาเรื่องอันตรายจากมะเร็งปากมดลูก จำนวน 100 คน สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 185 คน คิดเป็นร้อยละ 34.58 ซึ่งเกินความคาดหมายที่วางไว้ ว่าสตรีอายุ 60-70 ปี ต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ ในรอบ 5 ปี ร้อยละ 20 จากการคัดกรอง ไม่พบสตรีที่มีความผิดปกติ จากการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. สตรีวัยเจริญพันธู์เข้าร่วมกิจกรรม การสาธิตการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และรับฟังสุขศึกษาเรื่องอันตรายจากมะเร็งปากมดลูก จำนวน 100 คน
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 185 คน คิดเป็นร้อยละ 34.58 ซึ่งเกินความคาดหมายที่วางไว้ ว่าสตรีอายุ 60-70 ปี ต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ ในรอบ 5 ปี ร้อยละ 20
  3. จากการคัดกรอง ไม่พบสตรีที่มีความผิดปกติ จากการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีอายุ 30 -60 ปีที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมามีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 - 60 ปีที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา เข้าร่วมอบรม
100.00

 

2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-60 ปีที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
90.00

 

3 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น
90.00

 

4 เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์
100.00

 

5 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรงไม่เกิน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30 -60 ปีที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมามีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (3) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น (4) เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง (5) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปีขึ้นไป เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ภัยเงียบอันตราย ค้นหามะเร็งปากมดลูกรายใหม่โดยเร็ว ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด