กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการ ฟื้นฟูความรู้และทักษะการปฏิบัติงานของ อสม.ปี 2561 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์

ชื่อโครงการ โครงการ ฟื้นฟูความรู้และทักษะการปฏิบัติงานของ อสม.ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ฟื้นฟูความรู้และทักษะการปฏิบัติงานของ อสม.ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ฟื้นฟูความรู้และทักษะการปฏิบัติงานของ อสม.ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ฟื้นฟูความรู้และทักษะการปฏิบัติงานของ อสม.ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2482-1-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,750.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานด้านสาธารณสุข แบ่งรูปแบบการดำเนินงานออกเป็น 4 ด้าน คือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งการดำเนินงานให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้านนั้น สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงได้ แต่การที่จะทำให้ครอบคลุมทัั้ง 4 ด้านนั้นเป็นเรื่องยากเพราะปัจจุบันบริบทของการเกิดโรคของประเทศไทยได้เปล่ี่ยนแปลงไปกล่าวคือ ในอดีตการสาธารณสุขของไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าปัจจุบัน ประชาชนมักเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจากปฏิกิริยาของเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัส ที่มากระทำต่อร่างกาย เช่น ไข้หวัด อุจจาระร่วง เป็นต้น แต่ปัจจุบันเมื่อการสาธารณสุขก้าวหน้าขึ้นรวมทั้งวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปโรคที่เกิดขึ้นกับประชาชนจึงกลายเป็นโรคที่เกิดจากการไม่ดูแลพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ฯลฯ อีกทั้งยังมีโรคประจำถิ่นที่ยากต่อการควบคุม เช่น โรคไข้เลือดออก และที่สำคัญยังมีโรคเรื้อรังที่อันตรายถึงชีวิตหากไม่ได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ เช่น โรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งโรคต่างๆล้วนสร้างปัญหาและเป็นภัยต่อสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา ตำบลโฆษิต มีสภาพปัญหาไม่ต่างจากที่อื่น คือประชาชนในพื้นที่ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ ส่งผลให้เกิดให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด รวมไปถึงประชาชนในพื้นที่ส่วนใหย่นับถือศาสนาอิสลาม ด้วยความเชื่อ ส่งผลต่อการคัดกรองโรคบางโรค เช่น โรคมะเร็งปากมดลูก การจะแก้ไขปัญหาดังกล่าว ทุกฝ่ายต้องผนึกกำลังสร้างค่านิยมด้านสุขภาพที่ถูกต้องและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชน เน้นการสร้างสุขภาพและป้องกันมากกว่าการซ่อมสุขภาพโดยส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพของชุมชนได้เอง อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) เป็นบุคคลที่สำคัญและมีบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานและให้การช่วยเหลือ เป็นผู้ประสานงานและเป็นตัวเชื่อมระหว่างภาครัฐกับประชาชนในชุมชนในการดำเนินงานกิจกรรมด้านสาธารณสุขดังกล่าว เพื่อแก้ไขปัญหาระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมาโดยตลอด แต่ในหลายปีที่ผ่านมา นโยบายและการดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขจะแปรเปลี่ยนไปตามสภาวการณ์ทำให้อาสาสมัครสาธารณสุขต้องมีบทบาทหน้าที่และภารกิจเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งทำให้ในปัจจุบันอาสาสมัครสาธารณสุขขาดความมั่นใจ ขาดทักษะ วิชาการและองค์ความรู้ใหม่ๆในการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขประกอบกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา ได้มี อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) ใหม่ หลายท่านที่ไม่เคยได้รับการอบรม การเพิ่มพูนองค์ความรู้ต่างๆจึงส่งผลให้ไม่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่เพียงพอ การพัฒนาศักยภาพเพิ่มพูนความรู้และทักษะวิชาการ และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เพื่อเพิ่มสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขจึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขขึ้นมา อันจะช่วยส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินกิจกรรมสาธารณสุขต่างๆในระดับพื้นที่ให้ดียิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของอสม. ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป
  2. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วนของอสม.ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
  3. เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน เรื่อง
    • การเฝ้าระวัง ป้องกันโรคไข้เลือดออก
    • บทบาทหน้าที่ อสม.เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
    • การดูแลหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
    • การประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กแรกเกิด- 72 ปี
    • เกณฑ์การประเมิน และคำแนะนำ ร้านชำมาตรฐาน
    • การเขียนบันทึกการเยี่ยมบ้าน
    • งานอาชีวอนามัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม
    • งานส่งเสริมสุขภาพ
    • การป้องกันเอดส์ในชุมชน
  2. อสม.ปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น
  3. ประชาชนได้รับการดูแลด้านสุขภาพ ที่มีคุณภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่อสม.

วันที่ 1 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 1 วันที่ 20 เมษายน 2561 - เปิดการอบรม/ให้ความรู้ นโยบายการพัฒนาศักยภาพ อสม. โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญกาาร - ให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน โดย นางสาวฮายาตี นาปี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน ครั้งที่ 2 วันที่ 4 พฤษภาคม 2561 - ให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (HT DM) ในชุมชน โดยนางสาวสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - ให้ความรู้เรื่อง การดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในชุมชน โดย นางสาวปรางมาศ จันทร์คง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ครั้งที่ 3 วันที่ 25 พฤษภาคม 2561 - ให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามวัย โดยนางสาวฮายาตี นาปี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน - ให้ความรู้เรื่องเกณฑ์มาตรฐานร้านชำ และแผงลอย โดยนางสาวสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ครั้งที่ 4 วันที่ 15 มิถุนายน 2561 - ให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้พิการ/ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยสุขภาพจิตในชุมชน โดยนางสาวปรางมาศ จันทร์คง พยาบาลวิชาชีพ - ชี้แจงแนวทางการเขียนบันทึกการเยี่ยมบ้าน โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ครั้งที่ 5 วันที่ 29 มิถุนายน 2561 - ให้ความรู้เรื่องงานอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน โดยนางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำานาญการ - ให้ความรู้เรื่อง โรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก โดย นางมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ครั้งที่ 6 วันที่ 13 กรกฎาคม 2561
- ให้ความรู้เรื่อง การรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี โดย นางมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - ให้ความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก โดยนางสาวสุจิตรา โต๊ะมาน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ครั้งที่ 7 วันที่ 25 กรกฎาคม 2561 - ให้ความรู้เรื่องการป้องกันเอดส์ในชุมชน โดย นางมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - ให้ความรู้เรื่อง การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตัวเอง โดย นางมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ครั้งที่ 8 วันที่ 17 สิงหาคม 2561 - ให้ความรู้ เรื่องทักษะที่ใช้การปฏิบัติงานของ อสม.ในชุมชน โดย นางมุกดา สุวรรณโอภาส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ - ให้ความรู้เรื่องโรคเรื้อน โดยนางสาวฮายาตี นาปี เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน ครั้งที่ 9 วันที่ 29 สิงหาคม 2561 - ให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน นำเสนอและสรุปเนื้อหา/อภิปรายปัญหาทั่วไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อสม.มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน เรื่อง
    • การเฝ้าระวัง ป้องกันโรคไข้เลือดออก
    • บทบาทหน้าที่ อสม.เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
    • การดูแลหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
    • การประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กแรกเกิด- 72 ปี
    • เกณฑ์การประเมิน และคำแนะนำ ร้านชำมาตรฐาน
    • การเขียนบันทึกการเยี่ยมบ้าน
    • งานอาชีวอนามัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม
    • งานส่งเสริมสุขภาพ
    • การป้องกันเอดส์ในชุมชน
  2. อสม.ปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น
  3. ประชาชนได้รับการดูแลด้านสุขภาพ ที่มีคุณภาพ

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. อสม.เข้าร่วมรับการฟื้นฟูความรู้และทักษะการปฏิบัติงานของ อสม.ในแต่ละด้าน เดือนละ 30 คน คิดเป็นร้อยละ 81.1 ของอสม.ทั้งหมด
  2. อสม.มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน และมีความมั่นใจในการปฏิบัติงานที่เป็นบทบาทของอสม. มากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของอสม. ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป
ตัวชี้วัด : อสม.ทราบในบทบาทหน้าที่การดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วนของอสม.ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้และทักษะที่จำเป็นสามารถปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังโดยอสม.
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของอสม. ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป (2) เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วนของอสม.ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ (3) เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

งานต่างๆที่เป็นบทบาทของอสม.มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยอย่างต่อเนื่อง ปัญหาด้านสุขภาพก็เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ดังนั้นอสม. จึงสมควรได้รับทักษะและความรู้ใหม่ๆอยู่สม่ำเสมอ และต่อเนื่อง

 

จัดกิจกรรมเพิ่มพูนความชำนาญในการปฏิบัติงานในบทบาทของอสม.อย่างต่อเนื่อง


โครงการ ฟื้นฟูความรู้และทักษะการปฏิบัติงานของ อสม.ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2482-1-012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด