โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ”
ศูนย์การเรียนรู้ ม.1 ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะเสาะ สาแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ที่อยู่ ศูนย์การเรียนรู้ ม.1 ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-2986-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์การเรียนรู้ ม.1 ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์การเรียนรู้ ม.1 ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-2986-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาคุณภาพเด็กไทยต้องเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงมีครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะหากหญิงมีครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น โรคาลัสซีเมีย (Thalassemia) เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ปัญหาคลอดก่อนกำหนด เด็ทารกเกิดน้ำหนักน้อย รวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียอย่างน้อย 6 เดือน
จากการรายงานการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของเครือข่ายบริการสุขภาพศูนย์สุขภาพชุมชนตะโละแมะนา ในปีงบประมาณ 2557 , 2558 และ 2559พบว่าหญิงมีครรภ์ในเขตรับผิดชอบมารับบริการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 68.33 , 80.39 และ 74.15 ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้หญิงมีครรภ์ต้องได้รับการดูแลระหว่างตั้งครรภ์ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 60 แต่การมารับบริการฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ยังไม่คงที่ อาจมีแนวโน้มลดลงได้อยู่เสมอ ประกอบกับ หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ต้องได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกเร็วภายใน 12 สัปดาห์ เพื่อให้ได้คุณภาพ ปัญหา คือ หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ช้า มารับบริการไม่ครบตามเกณฑ์ และหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดระหว่าตั้งครรภ์ ร้อยละ 27.27 ซึ่งกำหนดไว้ว่าไม่เกินร้อยละ 10 และเมื่อคลอดบุตรพบว่าทารกมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 5.0 ตามเกณฑ์ต้องไม่เกินร้อยละ 7
ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวตำบลตะโละแมะนาและศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนาเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง ทั้งกลุ่มชมรมที่ต้องดูแลประชาชนในชุมชนกันเองและเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงด้านสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้นในหญิงขณะตั้งครรภ์ ในระหว่างคลอดและหลังคลอด รวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน เครือข่ายชมรมแม่อาสา ที่ช่วยกันดูแลสุขภาพในพื้นที่ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดและหลังคลอดตามเกณฑ์คุณภาพ 2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการประเมินความเสี่ยงและส่งต่ออย่างเหมาะสม 3. เพื่อให้ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวได้มีกิจกรรมพบปะกันอย่างต่อเนื่อง ปีละ 2 ครั้ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลเหมาะสมตามเกณฑ์ครรภ์คุณภาพรวมถึงหลังคลอด
- หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการแก้ไข
- ชมรมสายใยรักมีกิจกรรมและขยายสมาชิกเพิ่มขึ้น
- มารดาเลี้ยบงทารกด้วยนมแม่อย่างเดียวถึง 6 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมครั้งที่ 1 พบปะสมาชิกชมรมสายใยรัก
ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมในกลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและหญิงวัยเจริญพันธ์ทั่วไป สมาชิกชมรมสายใยรัก จำนวน 60 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ ครบ 60 คน และเข้าร่วมทั้ง 2 กิจกรรม ผู้เข้ารับการอบรม ได้รับสมาชิกชมรมรายใหม่ และตอบแบบสอบถามความรู้และความพึงพอใจ ผลคือ มีความรู้ส่วนใหญ่ อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 70 ความรู้ระดับมาก และน้อยเท่ากัน คือ ร้อยละ 15 ใช้แบบสอบถาม จากโรงเรียนพ่อมแม่
ความพึงพอใจในกิจกรรม
- ด้านวิทยากร ร้อยละ 90
- ด้านสถานที่ ร้อยละ 83.33 เดินทางไกลอยากให้แบ่งจัดในชุมชนด้วย
- ด้านอาหาร ร้อยละ 90
- ระยะเวลา ร้อยละ 90
การคืนข้อมูลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก พบว่าหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ช้า เหตุผลส่วนใหญ่ เนื่องจากอยู่นอกพื้นที่ และการใช้สิทธิบัตรยังไม่ครบกำหนด และมีบางรายไม่ทราบว่าตั้งครรภ์ การมาฝากครรภ์คุณภาพ มีเหตุผลในการขาดนัดเช่นเดียวกัน คือ ไม่อยู่ในพื้นที่และมีธุระ
ร่วมค้นหาปัจจัยเสี่ยงขณะตั้งครรภ์และการแก้ไขภาวะโลหิตจาง โดยใช้สื่อการเรียนรู้ ภาพพลิก และคลิปสอนเรื่องภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ และแนวทางการรักษาส่งต่อเมื่อมีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่หลังคลอด รณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ถึง 6 เดือน ด้วย อสม.ติดตามดูแลหลังคลอดที่บ้าน ในมารดามือใหม่ และอายุน้อย
กิจกรรมที่ 2 พบปะสมาชิกชมรมสายใยรัก
ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมในกลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์ทั่วไป สมาชิกชมรมสายใยรัก จำนวน 60 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ ครบ 60 คน และเข้าร่วมทั้ง 2 กิจกรรม ผู้เข้ารับอบรม ได้รับความรู้ในเรื่องการส่งเสริมพัฒนาตั้งแต่ในครรภ์โดยการเล่านิทาน ภูมิปัญญาการนวดและประคบหลังคลอด โดยแพทย์แผนไทย และส่งเสริมให้มีการวางแผนครอบครัวและการตรวจหลังคลอด ซึ่งจะนำมาประชาสัมพันธ์ในปีต่อไป
กิจกรรมที่ 3 คือ การทำสื่อและโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ แม่ลูกคุณภาพ ติดป้ายในชุมชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดและหลังคลอดตามเกณฑ์คุณภาพ 2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการประเมินความเสี่ยงและส่งต่ออย่างเหมาะสม 3. เพื่อให้ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวได้มีกิจกรรมพบปะกันอย่างต่อเนื่อง ปีละ 2 ครั้ง
ตัวชี้วัด :
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดและหลังคลอดตามเกณฑ์คุณภาพ 2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการประเมินความเสี่ยงและส่งต่ออย่างเหมาะสม 3. เพื่อให้ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวได้มีกิจกรรมพบปะกันอย่างต่อเนื่อง ปีละ 2 ครั้ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-2986-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเจ๊ะเสาะ สาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ”
ศูนย์การเรียนรู้ ม.1 ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะเสาะ สาแม
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ ศูนย์การเรียนรู้ ม.1 ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-2986-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์การเรียนรู้ ม.1 ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์การเรียนรู้ ม.1 ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-2986-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาคุณภาพเด็กไทยต้องเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงมีครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะหากหญิงมีครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น โรคาลัสซีเมีย (Thalassemia) เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ปัญหาคลอดก่อนกำหนด เด็ทารกเกิดน้ำหนักน้อย รวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียอย่างน้อย 6 เดือน
จากการรายงานการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กของเครือข่ายบริการสุขภาพศูนย์สุขภาพชุมชนตะโละแมะนา ในปีงบประมาณ 2557 , 2558 และ 2559พบว่าหญิงมีครรภ์ในเขตรับผิดชอบมารับบริการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 68.33 , 80.39 และ 74.15 ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้หญิงมีครรภ์ต้องได้รับการดูแลระหว่างตั้งครรภ์ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 60 แต่การมารับบริการฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ยังไม่คงที่ อาจมีแนวโน้มลดลงได้อยู่เสมอ ประกอบกับ หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ต้องได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกเร็วภายใน 12 สัปดาห์ เพื่อให้ได้คุณภาพ ปัญหา คือ หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ช้า มารับบริการไม่ครบตามเกณฑ์ และหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดระหว่าตั้งครรภ์ ร้อยละ 27.27 ซึ่งกำหนดไว้ว่าไม่เกินร้อยละ 10 และเมื่อคลอดบุตรพบว่าทารกมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 5.0 ตามเกณฑ์ต้องไม่เกินร้อยละ 7
ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวตำบลตะโละแมะนาและศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนาเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง ทั้งกลุ่มชมรมที่ต้องดูแลประชาชนในชุมชนกันเองและเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงด้านสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้นในหญิงขณะตั้งครรภ์ ในระหว่างคลอดและหลังคลอด รวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน เครือข่ายชมรมแม่อาสา ที่ช่วยกันดูแลสุขภาพในพื้นที่ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดและหลังคลอดตามเกณฑ์คุณภาพ 2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการประเมินความเสี่ยงและส่งต่ออย่างเหมาะสม 3. เพื่อให้ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวได้มีกิจกรรมพบปะกันอย่างต่อเนื่อง ปีละ 2 ครั้ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลเหมาะสมตามเกณฑ์ครรภ์คุณภาพรวมถึงหลังคลอด
- หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการแก้ไข
- ชมรมสายใยรักมีกิจกรรมและขยายสมาชิกเพิ่มขึ้น
- มารดาเลี้ยบงทารกด้วยนมแม่อย่างเดียวถึง 6 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมครั้งที่ 1 พบปะสมาชิกชมรมสายใยรัก
ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมในกลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและหญิงวัยเจริญพันธ์ทั่วไป สมาชิกชมรมสายใยรัก จำนวน 60 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ ครบ 60 คน และเข้าร่วมทั้ง 2 กิจกรรม ผู้เข้ารับการอบรม ได้รับสมาชิกชมรมรายใหม่ และตอบแบบสอบถามความรู้และความพึงพอใจ ผลคือ มีความรู้ส่วนใหญ่ อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 70 ความรู้ระดับมาก และน้อยเท่ากัน คือ ร้อยละ 15 ใช้แบบสอบถาม จากโรงเรียนพ่อมแม่
ความพึงพอใจในกิจกรรม
- ด้านวิทยากร ร้อยละ 90
- ด้านสถานที่ ร้อยละ 83.33 เดินทางไกลอยากให้แบ่งจัดในชุมชนด้วย
- ด้านอาหาร ร้อยละ 90
- ระยะเวลา ร้อยละ 90
การคืนข้อมูลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก พบว่าหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ช้า เหตุผลส่วนใหญ่ เนื่องจากอยู่นอกพื้นที่ และการใช้สิทธิบัตรยังไม่ครบกำหนด และมีบางรายไม่ทราบว่าตั้งครรภ์ การมาฝากครรภ์คุณภาพ มีเหตุผลในการขาดนัดเช่นเดียวกัน คือ ไม่อยู่ในพื้นที่และมีธุระ
ร่วมค้นหาปัจจัยเสี่ยงขณะตั้งครรภ์และการแก้ไขภาวะโลหิตจาง โดยใช้สื่อการเรียนรู้ ภาพพลิก และคลิปสอนเรื่องภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ และแนวทางการรักษาส่งต่อเมื่อมีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่หลังคลอด รณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ถึง 6 เดือน ด้วย อสม.ติดตามดูแลหลังคลอดที่บ้าน ในมารดามือใหม่ และอายุน้อย
กิจกรรมที่ 2 พบปะสมาชิกชมรมสายใยรัก
ซึ่งจากการดำเนินกิจกรรมในกลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธ์ทั่วไป สมาชิกชมรมสายใยรัก จำนวน 60 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ ครบ 60 คน และเข้าร่วมทั้ง 2 กิจกรรม ผู้เข้ารับอบรม ได้รับความรู้ในเรื่องการส่งเสริมพัฒนาตั้งแต่ในครรภ์โดยการเล่านิทาน ภูมิปัญญาการนวดและประคบหลังคลอด โดยแพทย์แผนไทย และส่งเสริมให้มีการวางแผนครอบครัวและการตรวจหลังคลอด ซึ่งจะนำมาประชาสัมพันธ์ในปีต่อไป
กิจกรรมที่ 3 คือ การทำสื่อและโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ แม่ลูกคุณภาพ ติดป้ายในชุมชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดและหลังคลอดตามเกณฑ์คุณภาพ 2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการประเมินความเสี่ยงและส่งต่ออย่างเหมาะสม 3. เพื่อให้ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวได้มีกิจกรรมพบปะกันอย่างต่อเนื่อง ปีละ 2 ครั้ง ตัวชี้วัด : |
60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดและหลังคลอดตามเกณฑ์คุณภาพ 2. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการประเมินความเสี่ยงและส่งต่ออย่างเหมาะสม 3. เพื่อให้ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวได้มีกิจกรรมพบปะกันอย่างต่อเนื่อง ปีละ 2 ครั้ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-2986-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเจ๊ะเสาะ สาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......