กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน


“ โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ”

อาคารอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านกลาง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางอุไรวรรณลีสุรพงศ์

ชื่อโครงการ โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น

ที่อยู่ อาคารอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านกลาง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1485-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 15 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านกลาง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านกลาง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1485-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 15 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มจากร้อยละ ๑๐.๗ ในปี ๒๕๕๐ (๗.๐ ล้านคน) เป็นร้อยละ ๑๑.๘ (๗.๕ ล้านคน)ในปี ๒๕๕๓ และร้อยละ ๒๐.๐ (๑๔.๕ ล้านคน) ในปี ๒๕๖๘ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,๒๕๕๑)นับว่าอัตราการเข้าสู่ “ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)” เร็วมาก ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพเศรษฐกิจ และสังคม ผู้สูงอายุต้องการผู้ดูแลในการทำกิจกรรมประจำวัน จากการตรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายพบว่าผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ ๘๐ ปีขึ้นไป) ต้องมีคนดูแลบางเวลาร้อยละ ๕๒.๒ และต้องมีคนดูแลตลอดเวลา ร้อยละ ๑๐.๒ (เยาวรัตน์ปรปักษ์ขาม,๒๕๔๗) อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี ๒๕๕๐ พบว่า ร้อยละ ๖๙.๓ ของประชากรในกลุ่มอายุ ๖๐ - ๖๙ ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และเพิ่มขึ้นเป็น ๘๓.๓ ในกลุ่มที่มีอายุ ๙๐ ปีขึ้นไปจากสถานการณ์ดังกล่าว อันทำให้ผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุมีแนวโน้มเจ็บป่วยมากและเร็วขึ้น สำหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง มีจำนวน 557 คน ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคมร้อยละ ๙๕.๖๕ติดบ้าน ร้อยละ ๓.๑๐ และติดเตียงร้อยละ๑.๒๔
เนื่องจากในปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมากจากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุของรพ.สต.บ้านลำแคลงที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีทั้งหมด 156 คน แบ่งเป็นโรคความดันโลหิตสูง 113 คน เป็นโรคเบาหวาน 43 คน ซึ่งผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและเสียชีวิตได้ เช่น โรคไตวาย โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง จะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังมีโอกาสเกิดภาวะทุพลภาพได้ง่าย ทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ที่อาจนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ลดลงได้ นอกจากผู้สูงอายุจะป่วยเป็นโรคเรื้อรังแล้วยังมีโรคข้อเข่าเสื่อมที่เกิดจากความเสื่อมตามสภาพร่างกายที่จะต้องได้รับการดูแลสร้างเสริมสุขภาพให้มีสุขภาพการเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ดังนั้นรพ.สต.บ้านลำแคลงเป็นหน่วยบริการสาธารณสุขปฐมภูมิชั้นแนวหน้าด้านการจัดการสุขภาพของอำเภอปะเหลียน โดยการมีส่วนร่วมจากชุมชนและภาคีเครือข่ายเพื่อสุขภาวะที่ดีในการส่งเสริมชุมชนผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยวีถีความพอเพียงอยู่แล้ว การทำโครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้จะเป็นวิธีหนึ่งที่จะสามารถเชื่อมโยงบูรณาการงานชมรมสร้างสุขภาพในชุมชนให้มีศักยภาพยิ่งขึ้นอนึ่งการมีตัวแทนจัดบริการโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในครัวเรือนด้วยการแพทย์แผนไทยนี้จะเป็นการเสริมสร้างจริยธรรมและรักษาวัฒนธรรมไทยเป็นกระบวนการสร้างความรักเอาใจใส่ ดูแลผู้สูงอายุในครัวเรือนตลอดจนได้ทดแทนพระคุณบุพการรี ส่งเสริมสร้างวีถีครอบครัวอบอุ่นสังคมเข้มแข็งได้ยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลตนเอง
  2. ๒. เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตลดอาการชาในกลุ่มผู้สูงอายุ
  3. ๓. เพื่อลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายด้วยวิธีการประคบสมุนไพร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้สูงอายุได้มีความรู้และสามารถนำกลับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

    ๒. ผู้สูงอายุในชุมชนได้รู้จักทำท่าบริหารเพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตลดอาการชาได้

    ๓.ผู้สูงอายุในชุมชนสามารถลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายด้วยวิธีการประคบสมุนไพรได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลตนเอง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 ๒. เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตลดอาการชาในกลุ่มผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 ๓. เพื่อลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายด้วยวิธีการประคบสมุนไพร
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.  เพื่อให้ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลตนเอง (2)          ๒.  เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตลดอาการชาในกลุ่มผู้สูงอายุ (3) ๓.  เพื่อลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายด้วยวิธีการประคบสมุนไพร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1485-1-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอุไรวรรณลีสุรพงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด