กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา


“ ส่งเสริมทันตสุภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ในเขตเทศบาลตำบลลำภูรา ”

ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสุกรีย์ โตสุจริตธรรม

ชื่อโครงการ ส่งเสริมทันตสุภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ในเขตเทศบาลตำบลลำภูรา

ที่อยู่ ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมทันตสุภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ในเขตเทศบาลตำบลลำภูรา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมทันตสุภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ในเขตเทศบาลตำบลลำภูรา



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมทันตสุภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ในเขตเทศบาลตำบลลำภูรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากแนวคิดระบบบริการคุณภาพโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวที่ต้องพัฒนาคุณภาพการบริการสุขภาพพื้นฐานในงานอนามัยแม่และเด็กโดยเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพมารดาและทารกปลอดภัยปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงต่อเนื่องถึงการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัยเพื่อให้เด็กเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างสมวัยทั้งสุขภาวะทางกายอารมณ์สังคมและสติปัญญา โดยการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีนั้นย่อมส่งผลต่อการมีสุขภาพร่างกายที่ดีด้วย
การป้องกันฟันผุในเด็กควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์เพราะฟันน้ำนมของเด็กเริ่มสร้างและมีการสะสมแร่ ธาตุเกือบสมบูรณ์ขณะอยู่ในครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ร่างกายของแม่มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของระบบฮอร์โมน ในร่างกายโดยเกิดจากมีการเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาของเหงือกพบว่าหญิงตั้งครรภ์มักมีปัญหาโรคปริทันต์อักเสบและหากหญิงตั้งครรภ์มีการดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ดีร่างกายจะยิ่งทำให้เหงือกอักเสบมีความรุนแรงยิ่งขึ้น และนอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์จะมีพฤติกรรมการกินอาหารที่เปลี่ยนไปคือ จะมีการกินอาหารระหว่างมื้อมากขึ้นซึ่งจะทำให้เสี่ยงต่อฟันผุได้ง่าย อาการแพ้ท้องของแม่จะมีการอาเจียนเอาน้ำย่อยจาก กระเพาะอาหารซึ่งมีฤทธิ์เป็นกรดออกมาบ่อยหากละเลยการดูแลสุขภาพช่องปากหรือมีวิธีการดูแลสุขภาพ ช่องปากที่ไม่ถูกต้องก็จะทำให้ฟันผุง่ายกว่าคนปกติ รวมถึงแม่ที่มีฟันผุจะมีเชื้อจุลินทรีย์ในช่องปากจำนวนมาก ซึ่งเชื้อนี้สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้ทางน้ำลายปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนดและทารก มีน้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐาน จากข้อมูลทางระบาดวิทยาของประเทศ-ไทย พบว่าเด็กช่วงอายุ0-3 ปีเป็นช่วงที่ อัตราการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมของเด็กเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพจังหวัดตรัง ปี 2556-2560พบเด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุร้อยละ67.458.850.448.4 และ 45.8ตามลำดับ[1] และจากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตเทศบาลลำภูรา ปี 2558-2560พบเด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุร้อยละ 51.6 ,48.4 และ 43.7ตามลำดับ[1]แม้ว่าอัตราการเกิดฟันผุจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้น แต่อัตราการเกิดฟันผุยังอยู่ในเกณฑ์สูงและเป็นปัญหาที่สำคัญ จากการศึกษาของ พิศิษฐ์ สมผดุงและคณะ[2] เรื่อง ประสิทธิผลของกิจกรรมการควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์บน ตัวฟันในหญิงตั้งครรภ์ต่อการมีฟันน้ำนมผุในเด็กอายุ6-30 เดือน ของตำบลโนนไทย อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมาพบว่าสภาวะการผุของฟันเด็กในมารดาที่ได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันด้วยการย้อมสีฟันระหว่างตั้งครรภ์ เมื่อเด็กมีอายุ 18-30เดือน มีฟันผุ ร้อยละ 27.27 ส่วนเด็กในมารดาที่ได้รับคำแนะนำปกติ เมื่อเด็กมีอายุ 18-30เดือนพบว่ามีฟันผุร้อยละ 63.73พบว่ามีการเพิ่มขึ้นของค่าเฉลี่ยฟันผุในเด็ก ระหว่างมารดาทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05)จากการศึกษาดังกล่าวจะเห็นว่าการฝึกทักษะการแปรงฟันด้วยการย้อมสีฟันระหว่างตั้งครรภ์ การดูแลช่องปากในช่วงแรก มีความสำคัญมากต่อเด็กและควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์ แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ใช้วิธีกำจัดคราบจุลินทรีย์โดยการแปรงฟันแบบ Modified bass technique ด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์อย่างน้อยวันละ 2 ครั้งนอก จากนี้จากการศึกษา ของอนันตยา พลสักวาและคณะ[3]เรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี ในเขตเทศบาลไชย-วาน อำเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานีพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคฟันผุ คือสภาวะอนามัยช่องปาก เนื่องจากคราบจุลินทรีย์เป็นแหล่งอาหารและที่อยู่ของเชื้อจุลินทรีย์ ผลคือเด็กที่มีคราบจุลินทรีย์มากมีฟันผุมากกว่าเด็กที่มีคราบจุลินทรีย์น้อย การศึกษาชี้ให้เห็นว่าการไม่แปรงฟันหรือแปรงฟันไม่มีประสิทธิภาพมีความสัมพันธ์กับอุบัติการณ์ของการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างชัดเจน ดังนั้นการสร้างความตระหนักในเรื่องสุขภาพช่องปากแก่มารดา เป็นหนทางหนึ่งในการลดความรุนแรงของการเกิดโรคฟันผุในเด็กวัยก่อนเรียนได้วิธีที่ง่ายและดีที่สุดวิธีหนึ่งคือการให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการย้อมสีฟัน นอกจากจะป้องกันฟันผุของมารดาแล้วยังเป็นการลดเชื้อจุลินทรีย์ในช่องปากของมารดาก่อนคลอดซึ่งจะช่วยชะลอหรือป้องกันการติดเชื้อในช่องปากของลูกได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูราได้เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างความตระหนักและให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์จึงจัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ประจำปี 2561 ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้อง ได้รับสิ่งกระตุ้นจูงใจสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้ได้เพิ่มกิจกรรมการเยี่ยมบ้านหลังคลอดเพื่อติดตามการดูแลช่องปากแม่และลูกเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของแม่ เพื่อนำไปสู่สภาวะช่องปากที่ดีของแม่และลูกต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนับสนุนให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและประเมินปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคฟันผุ
  2. หญิงตั้งครรภ์ที่เยี่ยมบ้านได้รับการฝึกแปรงฟันและลงมือปฏิบัติจริงและฝึกการทำความสะอาดช่องปากอย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 25
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพช่องปากดีขึ้น
      1. หญิงหลังคลอดสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตัวเองและลูกได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสนับสนุนให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและประเมินปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคฟันผุ
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลจำนวน 25 คน
    1.00

     

    2 หญิงตั้งครรภ์ที่เยี่ยมบ้านได้รับการฝึกแปรงฟันและลงมือปฏิบัติจริงและฝึกการทำความสะอาดช่องปากอย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลจำนวน 25 คน
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 25
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุนให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและประเมินปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคฟันผุ (2) หญิงตั้งครรภ์ที่เยี่ยมบ้านได้รับการฝึกแปรงฟันและลงมือปฏิบัติจริงและฝึกการทำความสะอาดช่องปากอย่างถูกวิธี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่งเสริมทันตสุภาพในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ในเขตเทศบาลตำบลลำภูรา จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุกรีย์ โตสุจริตธรรม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด