กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ


“ โครงการวัยใสป้องกันภัยยาเสพติด ”

ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายฟาริสมะเด็ง

ชื่อโครงการ โครงการวัยใสป้องกันภัยยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2516-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยใสป้องกันภัยยาเสพติด จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยใสป้องกันภัยยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยใสป้องกันภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2516-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเสพสิ่งเสพติดมากที่สุด ทั้งในและนอกสถานศึกษา เด็กและเยาวชนเป็นวัยที่อยากรู้อยากลอง จึงถูกชักชวนให้ใช้สิ่งเสพติดได้ง่าย จากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ทำให้คนเกิดอารมณ์เครียด มีปัญหาทางด้านจิตใจ จึงหันไปใช้สิ่งเสพติด เพื่อลดความเครียดของจิตใจลง การแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของสิ่งเสพติด จะต้องดำเนินการในเรื่องของการปราบและการจับกุมผู้ผลิตและผู้ค้า ซึ่งเจ้าหน้าที่ตำรวจและชุมชน ได้ร่วมกันสอดส่องดูแลอยู่แล้ว ส่วนการลดผู้เสพ ก็คือ การสอนหรือฝึก ให้เด็กมีภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจและสามารถเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งหมายถึงการฝึกทักษะต่าง ๆ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่เหมาะสม และสิ่งที่เป็นปัจจัยสำคัญในเรื่องพฤติกรรม คือทัศนคติ ซึ่งจะเห็นว่าแต่เดิมความล้มเหลวของการสอน เพื่อป้องกันเยาวชนไม่ให้ใช้สารเสพติดนั้น ส่วนใหญ่เป็นการสอน โดยให้แต่ความรู้เป็นลักษณะการขู่ให้กลัว นอกจากนี้ การสอนให้เด็กเกิดเจตคติที่ดีซึ่งเป็นสิ่งที่ยากมากเนื่องจากเจตคติ หมายถึง ความเชื่อ ความรู้สึก ความคิดที่ได้รับการจัดระบบขึ้นมาของบุคคลนั้น ประกอบการสอนนั้นต้องใช้สื่อที่สร้างความรู้สึก มีการจัดระบบความคิดความเชื่อ และถ้าใช้กระบวนการกลุ่มในการสอนจะทำให้เด็กได้แสดงความรู้สึกนึกคิดของตน และได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ทำให้สามารถแก้ไขปัญหาข้อโต้แย้งได้ และเกิดเจตคติที่ดีในที่สุด D.A.R.E เป็นโครงการทั่วโลกให้การยอมรับว่า มีประสิทธิภาพในการหยุดยั้งการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้าสู่โรงเรียนอย่างได้ผล และยังสามารถสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้กับสังคมได้อีกส่วนหนึ่ง นอกจากนั้น ยังเป็นการผนึกกำลังระหว่างตำรวจ สาธารณสุข โรงเรียน ครู/อาจารย์ บิดา,มารดา/ผู้ปกครอง และชุมชน เข้ามาแก้ปัญหายาเสพติดพร้อมกัน เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ "ราษฎร์-รัฐร่วมใจต้านภัยยาเสพติด" อันเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ยั่งยืน หลักการสำคัญของ D.A.R.E คือการให้ข้อมูลและทักษะที่จำเป็นกับนักเรียน เพื่อสามารถใช้ชีวิตได้โดยปราศจากยาเสพติด และความรุนแรงสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง ตำรวจ สาธารณสุข โรงเรียน ครู/อาจารย์ บิดา,มารดา/ผู้ปกครอง และชุมชน โดยเน้น 1. การให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติด/สุรา 2. สอนให้เด็กเกิดทักษะในการตัดสินใจ 3. แสดงให้เด็กเห็นถึงวิธีหลีกเลี่ยงแรงกดดันของกลุ่มเพื่อนร่วมวัย 4. เสนอทางเลือกอื่นให้กับเด็ก นอกเหนือจากการใช้ยาเสพติด และความรุนแรง องค์กร KpS (ครอบครัวรอยยิ้ม หมู่บ้านเป็นสุข) บ้านจือแร ม.๓ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาสได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการ "อบรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเด็ก และเยาวชน" ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายสุขภาพอนามัยและส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ
  2. 2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันแก่เด็กและเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติด
  3. ๓.เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมีจิตสำนึก มีความรู้ความเข้าในและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายสุขภาพอนามัย
    1. เด็กและเยาชนมีภูมิคุ้มกันต้านยาเสพติดและปฏิบัติตัวให้ห่างไกลยาเสพติด ๓. เยาวชนนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้านและชุมชนใกล้เคียง
    2. ชุมชนและหน่วยงานทุกภาพส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายสุขภาพอนามัยและส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ
ตัวชี้วัด :
50.00

 

2 2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันแก่เด็กและเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
50.00

 

3 ๓.เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด :
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกายสุขภาพอนามัยและส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ (2) 2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันแก่เด็กและเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติด (3) ๓.เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยใสป้องกันภัยยาเสพติด จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2516-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฟาริสมะเด็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด