กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง


“ โครงการอบรมสร้างความร่วมมือเครือข่ายการจัดการขยะชุมชนวังหิน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ”

ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมสร้างความร่วมมือเครือข่ายการจัดการขยะชุมชนวังหิน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1520-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มกราคม 2561 ถึง 22 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมสร้างความร่วมมือเครือข่ายการจัดการขยะชุมชนวังหิน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมสร้างความร่วมมือเครือข่ายการจัดการขยะชุมชนวังหิน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แกนนำชุมชน ครัวเรือนและบุคคล ในการคัดแยกขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แกนนำเกี่ยวกับการจัดการขยะ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเพิ่มขึ้นของประชากรประกอบกับการที่สังคมมีการเปลี่ยนแปลงเป็นสังคมเมืองอย่างรวดเร็วส่งผลทำให้เกิดขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้น จากข้อมูลสถานการณ์ขยะมูลฝอยที่ผ่านมาพบว่า แนวโน้มของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นในทุกปี หากพิจารณาถึงอัตราการเกิดขยะมูลฝอยของประเทศก็มีแนวโน้มที่เพิ่มมากขึ้น ปี 2560 พบว่า มีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขึ้น 27.39 ล้านตัน จัดการได้แล้ว 7.53 ล้านต้น คิดเป็น 28% ขยะมูลฝอยตกค้าง 30.49 ล้านตัน จัดการได้แล้ว 24.96 ล้านต้น คิดเป็น 82% และของเสียอันตรายชุมชน 606,319 ตัน จัดการได้แล้ว 545 ตันคิดเป็น 0.09% ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2559 พบว่ามีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นของประเทศไทย 27.06 ล้านตัน ซึ่งคิดเป็นอัตราการเกิดขยะมูลฝอยที่ 1.14 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2558 พบว่ามีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นของประเทศไทย 26.85 ล้านตัน โดยคิดเป็นอัตราการเกิดขยะมูลฝอยที่ 1.13 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ปริมาณขยะมูลฝอยในกลุ่มจังหวัดคิดเป็นร้อยละ 26 ของปริมาณขยะมูลฝอยในภาคใต้ จังหวัดที่มีปริมาณขยะมูลฝอยมากที่สุดในกลุ่มจังหวัด คือ จังหวัดภูเก็ต ซึ่งข้อมูลจากปี 2556 – 2559 ปริมาณขยะมูลฝอยในจังหวัดภูเก็ตมีแนวโน้มสูงขึ้น เป็นผลมาจากนักท่องเที่ยวจำนวนมากทั้งไทยและต่างชาติที่เข้ามาท่องเที่ยวในพื้นที่ จังหวัดที่มีปริมาณขยะมูลฝอยรองลงมา ได้แก่ จังหวัดตรัง จังหวัดกระบี่ จังหวัดพังงา และจังหวัดสงขลา จังหวัดตรัง เป็นเมืองหลักที่สำคัญของภาคใต้ เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ การศึกษา และการคมนาคมทั้งทางบก และทางอากาศ ที่มีการเปลี่ยนแปลงขยายตัวทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของภาคใต้ ซึ่งจังหวัดตรังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญจึงทำให้มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นเฉลี่ย 659.59 ตันต่อวัน หรือ 240,745.59 ตันต่อปี ในปี พ.ศ. 2559 มีขยะมูลฝอยที่ได้รับการกำจัดถูกต้อง จำนวน176,128.58 ตัน คิดเป็นร้อยละ 73.16 และการกาจัดแบบไม่ถูกต้อง จำนวน 64,617.01 ตัน คิดเป็นร้อยละ 26.84 ของขยะมูลฝอยทั้งหมดที่เกิดขึ้น โดยมีขยะมูลฝอยทั้งหมดที่ได้รับการคัดแยกเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ จำนวน 94,128.49 ตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ 39 ของขยะมูลฝอยทั้งหมดที่รวบรวมส่งกำจัดมีการคัดแยก และแยกทิ้งขยะอันตรายออกจากขยะมูลฝอยทั่วไป
      ในหมู่ที่ 10 บ้านวังหิน ตำบลอ่าวตง จังหวัดตรังจากการสำรวจ พบว่า 41.07% ไม่มีการจัดการขยะที่ถูกต้อง 84.78 % ทิ้งขยะลงถังโดยไม่ได้การคัดแยกขยะ ทางโรงพยาบาลส่งเสรมสุขภาพบ้านในปง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้แกนนำชุมชน ครัวเรือนและบุคคล ในการคัดแยกขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้แกนนำเกี่ยวกับการจัดการขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนและแกนนำมีความรู้การคัดแยกขยะในระดับชุมชน ครัวเรือนและบุคคลได้ 2.ประชาชนมีความตระหนักการลดขยะในชุมชนได้อัตราน้อยลง 3.ชุมชนมีความร่วมมือเครือข่ายจากชุมชนในการจัดการขยะที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้แกนนำเกี่ยวกับการจัดการขยะ

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนกำหนดการดำเนินงานและเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. มอบหมายหน้าที่ให้ผู้รับผิดชอบ กำหนดการดำเนินงานและเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติและปรับ แก้ไข
  3. จัดเตรียมประสานงานตามโครงการโดยร่วมกันหารือเรื่องสาเหตุของปัญหาและร่วมกันคิดกิจกรรมกับผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน และชาวบ้าน ดังนี้     3.1 กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะ และประโยชน์จากขยะ           - ให้ความรู้กับแกนนำชุมชน คือ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อบต. และประชาชนที่สนใจ           - เจ้าหน้าที่และแกนนำชุมชน ลงพื้นที่แต่ละโซนที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ความรู้กับชาวบ้านทุกครัวเรือน
        3.2 กิจกรรมการคัดแยกขยะภายในครัวเรือน         - จัดการประกวดโซนเพื่อแข่งขันการคัดแยกขยะในแต่ละโซนของชุมชน     3.3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์ การคัดแยกขยะ           - จัดทำป้ายรณรงค์ และสื่อความรู้ประชาสัมพันธ์ในแต่ละครัวเรือน 4.จัดเตรียมอุปกรณ์และสถานที่ 5.ประเมินผลตามวัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัด         - ประชาชนชุมชนบ้านวังหิน มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ร้อยละ 80 ด้วยแบบสอบถามการมีส่วนร่วม         - ประชาชนชุมชนบ้านวังหิน มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ และประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 80 ด้วยแบบทดสอบความรู้         - ประชาชนชุมชนบ้านวังหิน สามารถคัดแยกขยะได้ถูกวิธี ร้อยละ 80 ด้วยแบบสอบถามพฤติกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนและแกนนำมีความรู้การคัดแยกขยะในระดับชุมชน ครัวเรือนและบุคคลได้ 2.ประชาชนมีความตระหนักการลดขยะในชุมชนได้อัตราน้อยลง 3.ชุมชนมีความร่วมมือเครือข่ายจากชุมชนในการจัดการขยะที่ดี

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ให้ความรู้กับแกนนำชุมชน คือ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อบต. และประชาชน จำนวน 40 คน 2.จัดประกวดบ้านเรือน สะอาด จำนวน 20 หลังคาเรือน 3.ประชาสัมพันธ์การจัดแยกขยะในหลังคาเรือน พร้อมสาธิตการจัดแยกขยะที่ถูกต้อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้แกนนำชุมชน ครัวเรือนและบุคคล ในการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนชุมชนบ้านวังหิน มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ และประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 80 2. ประชาชนชุมชนบ้านวังหิน สามารถคัดแยกขยะได้ถูกวิธี ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แกนนำชุมชน ครัวเรือนและบุคคล ในการคัดแยกขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แกนนำเกี่ยวกับการจัดการขยะ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมสร้างความร่วมมือเครือข่ายการจัดการขยะชุมชนวังหิน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1520-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด