กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม


“ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู้ภัยไข้เลือดออก ”

ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู้ภัยไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L8403-2-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู้ภัยไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู้ภัยไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู้ภัยไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L8403-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 28 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อ ที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ติดต่อโดยยุงลายรับเชื้อไข้เลือดออกจากผู้ป่วยไข้เลือดออก แล้วไปกัดคนปกติในตอนกลางวัน ทำให้คนปกติมีอาการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกหากไม่มีการวางแผนและการควบคุมการระบาดที่ดีพอจะทำให้โรคดังกล่าวแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว สำหรับอาการของโรคดังกล่าวผู้ป่วยมีอาการไข้สูง คล้ายไข้หวัด มีจุดเลือดออกตามอวัยวะต่างๆของร่างกาย ช็อคและเสียชีวิตในที่สุด หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันท่วงที โรคดังกล่าวมักมีอาการรุนแรงในเด็ก0 – 12 ปี เมื่อมีการระบาดเกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ และเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 – 26 กันยายน 2560 จังหวัดสงขลามีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 2,754 ราย อัตราป่วย 195.47 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 5 ราย (หาดใหญ่ 2 ราย, สะเดา 2 ราย, รัตภูมิ 1 ราย) อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.18 ในส่วนของอำเภอหาดใหญ่ มีรายงานผู้ป่วย จำนวน 911 ราย อัตราป่วย 232.15 ต่อแสนประชากร ตำบลท่าข้ามมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 19 ราย อัตราป่วย 231.93 ต่อแสนประชากร การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกกับประชาชนในหมู่บ้าน เป็นวิธีการหนึ่งที่จะทำให้เกิดความตระหนัก ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และการมีส่วนร่วมในการป้องกันตนเอง มิให้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม จึงได้จัดทำโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู้ภัยไข้เลือดออกขึ้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ๆ มีการระบาดซ้ำซาก ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ ระหว่างผู้ป่วยไข้เลือดออก กับประชาชนทั่วไปในพื้นที่นั้น และเกิดความตระหนักในการป้องกันตนเอง มีให้เจ็บป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกต่อไป ทั้งนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินการตามบทบาทและภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องโรคไข้เลือดออก ระหว่างผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ๆ มีการระบาดซ้ำซาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดมาตรการทางสังคม ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    2. ประชาชนสามารถป้องกันตนเอง มิให้เจ็บป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องโรคไข้เลือดออก ระหว่างผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ๆ มีการระบาดซ้ำซาก
    ตัวชี้วัด : ดำเนินการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องโรคไข้เลือดออก ครอบคลุมพื้นที่ๆมีการระบาดซ้ำซาก
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องโรคไข้เลือดออก ระหว่างผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ๆ มีการระบาดซ้ำซาก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู้ภัยไข้เลือดออก จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L8403-2-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่่งแวดล้อม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด