กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ ใกล้บ้านใกล้ใจ ชุมชนห่วงใย เติมพลังใจให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวเจ๊ะเสาะสาแม




ชื่อโครงการ โครงการ ใกล้บ้านใกล้ใจ ชุมชนห่วงใย เติมพลังใจให้ผู้ป่วยเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-2986-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ใกล้บ้านใกล้ใจ ชุมชนห่วงใย เติมพลังใจให้ผู้ป่วยเรื้อรัง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ใกล้บ้านใกล้ใจ ชุมชนห่วงใย เติมพลังใจให้ผู้ป่วยเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ใกล้บ้านใกล้ใจ ชุมชนห่วงใย เติมพลังใจให้ผู้ป่วยเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-2986-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่ท้าทาย ทั้งระดับประเทศและระดับโลก เนื่องจากเป็นสาเหตุสำคัยของความพิการและการเสัยชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย ครอบครัว ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และยังก่อให้เกิดความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ องค์การอนามัยโลกและกระทรวงสาธารณสุข ได้เห็นถึงปัญหาของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นและให้ความสำคัญในการจัดการกับปัญหานี้อย่างจริงจัง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นโรคที่ป้องกัน ควบคุม และจัดการได้ด้วยมาตรการที่เหมาะสม ตั้งแต่มาตรการด้านกฏหมาย ควบคุมปัจจัยกำหนด หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดเสี่ยง ปรับสภาพแวดล้อมที่ลดเสี่ยงและเอื้อต่อสุขภาพ และการเข้าถึงระบบบริการที่มีคุณภาพของกลุ่มเสี่ยง และกลุมป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อให้ผู้ที่เสี่ยงต่อโรคสามารถควบคุมได้ ลดภาวะแทรกซ้อน ลดการนอนโรงพยาบาล และลดอัตราการเสียชีวิตที่สัมพันธ์โดยตรงจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยทำงาน จากการสำรวจข้อมูลผู้ป่วยเบาหวานในตำบลตะโละแมะนา ปี 2560 พบว่า มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 109 ราย และผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 39 ราย เป็นทั้งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 21 ราย มีปัญหาการขาดนัด และควบคุมอาการของโรคไม่ได้ จากการดำเนินงานที่ผ่านมา แกนนำและผู้ป่วยมีการเรียนรู้การแบ่งกลุ่มผู้ป่วยตามกลุ่ม จราจร 7 สี แต่ยังไม่ครอบคลุมผู้ป่วย ผู้ดูแลขาดความชำนาญในการดูแลผู้ป่วย ตำบลตะโละแมะนาเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีการจัดการและดูแลตนเองขณะอยู่ที่บ้าน โดยให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ เข้าใจและสามารถดูแลช่วยเหลือกันในชุมชนได้ จึงมีโครงการนี้ขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังเข้าถึงบริการตามนัดอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้ป่วยและญาติในการควบคุมโรค
  3. เพืื่อสนับสนุนผู้ป่วยเรื้อรังและญาติร่่วมกันดูแลตนเองอย่างถูต้อง ทำให้ลดภาวะแทรกซ้อนของผุ้ป่วย
  4. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการโรคเรื้อรังในพื้นที่ และผลักดันนโยบายสาธารณสู่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมละลายพฤติกรรม 2. กิจกรรม สิ่งดีดีระหว่างทางการดูแลสุขภาพ 3. ฝึก 3 อ 2 ส ให้เป้นนิสัย ลดโรคตามวิถีชาวบ้าน 4. คืนข้อมูลสถานะสุขภาพ 5. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนกลับบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานในชุมชนได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเหมาะสม
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดตามสถานะปิงปองจราจร 7 สี ในระดับคงสภาพ และเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานแบ่งเป็น 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพบปะ คืนข้อมูลภาวะสุขภาพ ผู้ป่วชยโรคไม่ติิดต่อเรื่อรัง พบว่า
เป้าหมายผู้ป่วยและญาติจำนวน 40 ราย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 ราย ร้อยละ 100 ผู้ป่วยและญาติ สนใจในกิจกรรม การคืนข้อมุลสถานะสุขภาพ ของตนเองและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทัศนคติของผู้ป่วยต่อโรคเบาหวาน แลกเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเอง เรื่อง 3 อ. 2 ส ได้แก่ อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย และ 2 ส ได้แก่ สิ่งเสพติด บุหรี่ และสุรา ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายและฝึกลมหายใจ เพื่อสมาธิและอารมณ์ของผู้ป่วย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารในชีวิตประจำวัน พร้อมให้ความรู้เรื่องอาหารโซนสี
ชื่นชมผู้ที่สามารถควบคุมสถานะสุขภาพของตนเองได้ และให้กำลังใจผู้ป่วยที่ยังคงต้องเฝ้าระวังสุขภาพแต่ยังคงต้องมีการเรียนรู้และช่วยกันระหว่างทีมแกนนำ ผู้ป่วยและญาติ ในการใช้เกณฑ์ผลการตรวจสุขภาพของตนเอว และนำไปเทียบสีสถานะสุขภาพ
ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายและฝึกลมหายใจ เพื่อสมาธิและอารมณ์ของผู้ป่วย

กิจกรรมที่ 2 ประชุมพบปะอาสาสมัครประจำหมู่บ้านที่ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พบว่า กลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครสาธารณสุขที่ติดตามดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจำนวน 20 ราย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 ราย ร้อยละ 100 ผู้ป่วยและญาติ สนใจในกิจกรรมปิงปองวงจร 7 สี พร้อมทั้งคืนข้อมูลผลการตรวจสุขภาพจากโรงพยาบาล อสม.ผู้ติดตามดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้รับความรู้และแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส การติดตามผู้ป่วยไปรับบริการที่โรงพยาบาล และ กรณีรับยาแทนนำส่งผู้ป่วยที่บ้าน

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมสื่อความรู้ประชาสัมธ์ฉบับครัวเรือน พบว่า ได้มีการติดตามนัดทำกิจกรรมกลุ่มชมรม พร้อมมอบแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์การเลือก และลดการรับประทานอาหารที่มีผลกระทบต่อโรค ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ให้แก่ครัวเรือนเพื่อติดไว้ในครัวเรือน และการติดป้ายประชาสัมพันธ์ กินจือ ยืดชีวิต ในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังเข้าถึงบริการตามนัดอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้ป่วยและญาติในการควบคุมโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพืื่อสนับสนุนผู้ป่วยเรื้อรังและญาติร่่วมกันดูแลตนเองอย่างถูต้อง ทำให้ลดภาวะแทรกซ้อนของผุ้ป่วย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการโรคเรื้อรังในพื้นที่ และผลักดันนโยบายสาธารณสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังเข้าถึงบริการตามนัดอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้ป่วยและญาติในการควบคุมโรค (3) เพืื่อสนับสนุนผู้ป่วยเรื้อรังและญาติร่่วมกันดูแลตนเองอย่างถูต้อง ทำให้ลดภาวะแทรกซ้อนของผุ้ป่วย (4) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการโรคเรื้อรังในพื้นที่ และผลักดันนโยบายสาธารณสู่ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมละลายพฤติกรรม  2. กิจกรรม สิ่งดีดีระหว่างทางการดูแลสุขภาพ  3. ฝึก 3 อ 2 ส ให้เป้นนิสัย ลดโรคตามวิถีชาวบ้าน  4. คืนข้อมูลสถานะสุขภาพ  5. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนกลับบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ใกล้บ้านใกล้ใจ ชุมชนห่วงใย เติมพลังใจให้ผู้ป่วยเรื้อรัง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-2986-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเจ๊ะเสาะสาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด