กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว


“ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2560 ”

ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวินัย จันทมณี ผอ.รพ.สต.บ้านบ่ออิฐ

ชื่อโครงการ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 07/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 07/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะแต้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพของคนไทยที่มีมากขึ้น ทำให้ประชาชนมีแนวโน้มเจ็บป่วยด้วย โรคไม่ติดต่อหรือโรคเรื้อรังสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นโรคเรื้อรัง สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกำลังกาย และ ปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งจะนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนด้วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือด หัวใจ ตาบอดจากเบาหวานและภาวะไตวายเรื้องรังมากขึ้น ปัญหาสำคัญของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้คือ การเกิดภาวะ แทรกซ้อนที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยและค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม ได้แก่ โรค หัวใจ โรคหลอดเลือดสมองแตกหรือตีบ โรคไตวายเรื้อรัง นอกจากนั้นเบาหวานอาจทำให้เกิด ภาวะตาบอดเป็นแผลเรื้อรังที่เท้าและขาจนกระทั่งถูกตัดขา/ตัดนิ้วได้ สำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติตระหนักและเห็นความจำเป็นที่จะต้องมีการลงทุนด้านสุขภาพเพื่อเร่งรัดดำเนิน การอย่างจริงจังในการลดหรือชะลอการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมิให้เพิ่ม มากขึ้นอย่างรวดเร็ว และหากเจ็บป่วยก็สามารถเข้าถึงบริการควบคุมป้องกันความรุนแรงที่มี คุณภาพเพื่อป้องกันหรือชะลอภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบบในพื้นที่ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่รับบริการในคลินิก NCD คุณภาพจำนวน 2๐๐ คนโดยจัดให้มีการสร้างกระบวนการเรียนรู้(Knowledge Management) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน ในคลินิกของหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวานและสร้างแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐาน
  2. ๒. เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก สมาชิกชมรมเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง(Good Model)และมีความตระหนักในการดูแลตนเองของผู้ป่วยเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการการดูแลภาวะสุขภาพอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ ๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการรับประทานอาหาร ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ สามารถจัดการกับความเครียดได้และสามารถ ลดละ เลิก การสูบบุหรี่ได้ ๓.ผู้ป่วยและญาติ มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม และมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ่ออิฐ
    ๔. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนและเสียชีวิต จากโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวานและสร้างแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐาน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒. เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก สมาชิกชมรมเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง(Good Model)และมีความตระหนักในการดูแลตนเองของผู้ป่วยเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อพัฒนาคลินิกเบาหวานและสร้างแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐาน (2) ๒. เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก สมาชิกชมรมเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง(Good Model)และมีความตระหนักในการดูแลตนเองของผู้ป่วยเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 07/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวินัย จันทมณี ผอ.รพ.สต.บ้านบ่ออิฐ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด