โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพรรัตนซ้อน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา
มิถุนายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE)
ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-2986-0ุ6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-2986-0ุ6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
1.1 ที่มา บุหรี่เป็นปัญหาสำคัญในปัจจุบัน ผลการสำรวจของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่เรื่องพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในปี 2555 พบว่าประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 53.9 ล้านคน เป็นผู้ที่สูบบุหรี่ 11.5 ล้านคน หรือร้อยละ 21.4 โดยเป็นผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำ 9.9 ล้านคน (ร้อยละ 18.8) และเป็นผู้ที่สูบบุหรี่นานๆครั้ง 1.6 ล้านคน (ร้อยละ 2.9) โดยอัตราการสูบบุหรี่ของผู้ชายมากกว่าผู้หญอง 20 เท่า
วัยรุ่นติดบุหรี่ด้วยสาเหตุต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่เพราะความอยากลอง และค่านิยมที่ไม่ถูกต้อง ยึดติดกลุ่มเพื่อนเยาวชนที่เริ่มสูบบุหรี่ ความอยากลองซึ่งเป็นธรรมชาติของวัยรุ่น ถึงแม้จะทราบว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดีต่อสุขภาพก็ตาม เยาวชนส่วนใหญ่ที่เริ่มสูบบุหรี่เพราะเพื่อนชวน บางคนมีเจตคติที่ว่าถ้าไม่สูบบุหรี่ เพื่นจะไม่ยอมรับเข้ากลุ่ม บางคนสูบบุหรี่โดยเข้าใจว่าจะทำให้เข้าสังคมกับเพื่อนๆได้
การที่วัยรุ่นคนหนึ่งตัดสินใจจะลองสูบบุหรี่จะใช้กระบวนการคิดความกล้าที่จะก้าวผ่านเส้นแบ่งความถูกผิดของสังคมมากกว่าการเลือกกินหรือใช้สินค้าอื่น หากตัดสินใจลองสูบบุหรี่ นั้นได้ก้าวข้ามเส้นแบ่งนั้นมาแล้ว ซึ่งหากการลองสูบบุหรี่ครั้งแรกไม่มีการสำลักควันบุหรี่ และเกิดความรู้สึกพึงพอใจ ก็จะเกิดการลองซ้ำๆ จนเกิดความเคยชินและเชี่ยวชาญ ซึ่งเมื่อมีโอกาสลองยาเสพติดชนิดอืื่นที่ร้ายแรงกว่าย่อมที่จะง่ายกว่าคนที่ไม่เคยก้าวข้ามเส้นแบ่งนี้มาเลย
1.2 สภาพปัญหา ปัจจุบันจากข้อมูลสถานการณ์การบริโภคยาสูบรายจังหวัดพบว่า จังหวัดปัตตานีมีอัตราการบริโภคยาสูบสูงเป็นอันดับต้นของประเทศเป็นเวลาหลายปี มีอัตราการสูบบุหรี่ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี 2555 ร้อยละ 29.10 ร้อยละ 28.08 เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ และมีอัตราการสูบบุหรี่ของเพศชายอายุ 15 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อยละ 57.45 สอดคล้องกับรายงานการวิจัยการประเมินสถานการณ์ยาสูบ จังหวัดปัตตานี เพื่่อการเปลี่ยนแปลงของ มอ.ปัตตานี โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ ปี 2556 สุ่มตัวอย่างประชากรในพื้นที่จำนวน 1,762 ราย พบว่า สูบบุหรี่ร้อยละ 24.5 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาสูบบุหรี่ร้อยละ 16.3 อายุที่เริ่มสูบบุหรี่ครั้งแรกส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 16-20 ปี อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบคือ 17 ปี อายุที่ต่ำที่สุดที่เริ่มสูบคือ 7 ปี โดยเฉพาะกลุ่มนักเรียน พบว่า อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่คือ 13.5 ปี และจากการสำรวจในคลินิกฟ้าใสในปี 2560 พบว่า กลุ่มที่บำยัดยาเสพติด จำนวน 44 คน พบว่าทุกรายเริ่มสูบบุหรี่ ลำดับแรกก่อนที่จะใช้สารเสพติดตัวอื่น และส่วนใหญ่จะเริ่มสูบบุหรี่เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
1.3 ความเร่งด่วน/ผลที่คาดหวัง ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา มีการเปิดดำเนินการคลินิกอดบุหรี่สัญจรและส่งต่อคลินิกฟ้าใสของโรงพยาบาลทุ่งยางแดง เพื่อบำบัดรักษาผู้ติดบุหรี่ แต่พบว่ากลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะวัยรุ่นเข้าสู่กระบวนการบำบัดในคลินิกมีจำนวนน้อย สวนทางกับการระบาดที่อยู่ในชุมชน ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินการเชิงรุกร่วมกับเครือข่าย เพื่อสร้างูมิคุ้มกันในกลุ่มวัยรุ่น และสร้างแกนนำวัยรุ่นช่วยค้นหากลุ่มสูบบุหรี่และส่งต่อเข้าสู่กะบวนการบำบัด รวมทั้งให้ความรู้กับพ่อแม่ผู้ปกครองในการสร้างทักษะดูแลบุตรหลานให้ห่างไกลยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและบุหรี่ ในเยาวชน และประชาชนทั่วไป
- เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้ปกครองและสมาชิกในครอบครัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดและบุหรี่
- เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและป้องกันผู้สูบหน้าใหม่
- เพื่อขยายการเข้าถึงบริการให้คำปรึกษาเรื่องยาเสพติดและคลินิคอดบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. คืนข้อมูลการสูบบุหรี่ 2. ให้ความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ 3. ให้ความรู้เรื่องวิธีการลด ละ เลิกบุหรี่ 4. สอนและสาธิตการออกกำลังกายเพื่อลด ละ เลิกบุหรี่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือในการเข้ากิจกรรม
- ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลเยาวชนกลุ่มเสี่ยงให้ห่างไกลยาเสพติดและครอบครัว
- เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้มีความรู้และภูมิคุ้มกันเรื่องบุหรี่และยาเสพติด
- มีแกนนำเยาวชนในการส่งต่อผู้สูบและผู้เสพหน้าใหม่เข้ารับการบำบัด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- นักเรียนทุกคนได้รับความรู้และความปลอดภัยจากบุหรี่และสารเสพติด สามารถป้องกันตนเองได้เรียนรู้อย่างมีความสุขฃ
- ผู้ปกครอง ชุมชน ให้การสนับสนุน ร่วมมือ ช่วยเหลือโรงเรียนและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและแก้ไขปัยหาของบุหรี่และสารเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
- ผู้ที่สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ จำนวน 15 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและบุหรี่ ในเยาวชน และประชาชนทั่วไป
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้ปกครองและสมาชิกในครอบครัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดและบุหรี่
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและป้องกันผู้สูบหน้าใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อขยายการเข้าถึงบริการให้คำปรึกษาเรื่องยาเสพติดและคลินิคอดบุหรี่
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและบุหรี่ ในเยาวชน และประชาชนทั่วไป (2) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้ปกครองและสมาชิกในครอบครัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดและบุหรี่ (3) เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและป้องกันผู้สูบหน้าใหม่ (4) เพื่อขยายการเข้าถึงบริการให้คำปรึกษาเรื่องยาเสพติดและคลินิคอดบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คืนข้อมูลการสูบบุหรี่ 2. ให้ความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ 3. ให้ความรู้เรื่องวิธีการลด ละ เลิกบุหรี่ 4. สอนและสาธิตการออกกำลังกายเพื่อลด ละ เลิกบุหรี่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-2986-0ุ6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางภัทรพรรัตนซ้อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพรรัตนซ้อน
มิถุนายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-2986-0ุ6 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-2986-0ุ6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
1.1 ที่มา บุหรี่เป็นปัญหาสำคัญในปัจจุบัน ผลการสำรวจของมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่เรื่องพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในปี 2555 พบว่าประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 53.9 ล้านคน เป็นผู้ที่สูบบุหรี่ 11.5 ล้านคน หรือร้อยละ 21.4 โดยเป็นผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำ 9.9 ล้านคน (ร้อยละ 18.8) และเป็นผู้ที่สูบบุหรี่นานๆครั้ง 1.6 ล้านคน (ร้อยละ 2.9) โดยอัตราการสูบบุหรี่ของผู้ชายมากกว่าผู้หญอง 20 เท่า วัยรุ่นติดบุหรี่ด้วยสาเหตุต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่เพราะความอยากลอง และค่านิยมที่ไม่ถูกต้อง ยึดติดกลุ่มเพื่อนเยาวชนที่เริ่มสูบบุหรี่ ความอยากลองซึ่งเป็นธรรมชาติของวัยรุ่น ถึงแม้จะทราบว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดีต่อสุขภาพก็ตาม เยาวชนส่วนใหญ่ที่เริ่มสูบบุหรี่เพราะเพื่อนชวน บางคนมีเจตคติที่ว่าถ้าไม่สูบบุหรี่ เพื่นจะไม่ยอมรับเข้ากลุ่ม บางคนสูบบุหรี่โดยเข้าใจว่าจะทำให้เข้าสังคมกับเพื่อนๆได้ การที่วัยรุ่นคนหนึ่งตัดสินใจจะลองสูบบุหรี่จะใช้กระบวนการคิดความกล้าที่จะก้าวผ่านเส้นแบ่งความถูกผิดของสังคมมากกว่าการเลือกกินหรือใช้สินค้าอื่น หากตัดสินใจลองสูบบุหรี่ นั้นได้ก้าวข้ามเส้นแบ่งนั้นมาแล้ว ซึ่งหากการลองสูบบุหรี่ครั้งแรกไม่มีการสำลักควันบุหรี่ และเกิดความรู้สึกพึงพอใจ ก็จะเกิดการลองซ้ำๆ จนเกิดความเคยชินและเชี่ยวชาญ ซึ่งเมื่อมีโอกาสลองยาเสพติดชนิดอืื่นที่ร้ายแรงกว่าย่อมที่จะง่ายกว่าคนที่ไม่เคยก้าวข้ามเส้นแบ่งนี้มาเลย 1.2 สภาพปัญหา ปัจจุบันจากข้อมูลสถานการณ์การบริโภคยาสูบรายจังหวัดพบว่า จังหวัดปัตตานีมีอัตราการบริโภคยาสูบสูงเป็นอันดับต้นของประเทศเป็นเวลาหลายปี มีอัตราการสูบบุหรี่ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี 2555 ร้อยละ 29.10 ร้อยละ 28.08 เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ และมีอัตราการสูบบุหรี่ของเพศชายอายุ 15 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อยละ 57.45 สอดคล้องกับรายงานการวิจัยการประเมินสถานการณ์ยาสูบ จังหวัดปัตตานี เพื่่อการเปลี่ยนแปลงของ มอ.ปัตตานี โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ ปี 2556 สุ่มตัวอย่างประชากรในพื้นที่จำนวน 1,762 ราย พบว่า สูบบุหรี่ร้อยละ 24.5 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาสูบบุหรี่ร้อยละ 16.3 อายุที่เริ่มสูบบุหรี่ครั้งแรกส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 16-20 ปี อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบคือ 17 ปี อายุที่ต่ำที่สุดที่เริ่มสูบคือ 7 ปี โดยเฉพาะกลุ่มนักเรียน พบว่า อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่คือ 13.5 ปี และจากการสำรวจในคลินิกฟ้าใสในปี 2560 พบว่า กลุ่มที่บำยัดยาเสพติด จำนวน 44 คน พบว่าทุกรายเริ่มสูบบุหรี่ ลำดับแรกก่อนที่จะใช้สารเสพติดตัวอื่น และส่วนใหญ่จะเริ่มสูบบุหรี่เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น 1.3 ความเร่งด่วน/ผลที่คาดหวัง ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา มีการเปิดดำเนินการคลินิกอดบุหรี่สัญจรและส่งต่อคลินิกฟ้าใสของโรงพยาบาลทุ่งยางแดง เพื่อบำบัดรักษาผู้ติดบุหรี่ แต่พบว่ากลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะวัยรุ่นเข้าสู่กระบวนการบำบัดในคลินิกมีจำนวนน้อย สวนทางกับการระบาดที่อยู่ในชุมชน ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินการเชิงรุกร่วมกับเครือข่าย เพื่อสร้างูมิคุ้มกันในกลุ่มวัยรุ่น และสร้างแกนนำวัยรุ่นช่วยค้นหากลุ่มสูบบุหรี่และส่งต่อเข้าสู่กะบวนการบำบัด รวมทั้งให้ความรู้กับพ่อแม่ผู้ปกครองในการสร้างทักษะดูแลบุตรหลานให้ห่างไกลยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและบุหรี่ ในเยาวชน และประชาชนทั่วไป
- เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้ปกครองและสมาชิกในครอบครัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดและบุหรี่
- เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและป้องกันผู้สูบหน้าใหม่
- เพื่อขยายการเข้าถึงบริการให้คำปรึกษาเรื่องยาเสพติดและคลินิคอดบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. คืนข้อมูลการสูบบุหรี่ 2. ให้ความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ 3. ให้ความรู้เรื่องวิธีการลด ละ เลิกบุหรี่ 4. สอนและสาธิตการออกกำลังกายเพื่อลด ละ เลิกบุหรี่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือในการเข้ากิจกรรม
- ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลเยาวชนกลุ่มเสี่ยงให้ห่างไกลยาเสพติดและครอบครัว
- เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้มีความรู้และภูมิคุ้มกันเรื่องบุหรี่และยาเสพติด
- มีแกนนำเยาวชนในการส่งต่อผู้สูบและผู้เสพหน้าใหม่เข้ารับการบำบัด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- นักเรียนทุกคนได้รับความรู้และความปลอดภัยจากบุหรี่และสารเสพติด สามารถป้องกันตนเองได้เรียนรู้อย่างมีความสุขฃ
- ผู้ปกครอง ชุมชน ให้การสนับสนุน ร่วมมือ ช่วยเหลือโรงเรียนและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและแก้ไขปัยหาของบุหรี่และสารเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
- ผู้ที่สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้ จำนวน 15 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและบุหรี่ ในเยาวชน และประชาชนทั่วไป ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้ปกครองและสมาชิกในครอบครัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดและบุหรี่ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและป้องกันผู้สูบหน้าใหม่ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อขยายการเข้าถึงบริการให้คำปรึกษาเรื่องยาเสพติดและคลินิคอดบุหรี่ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและบุหรี่ ในเยาวชน และประชาชนทั่วไป (2) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้ปกครองและสมาชิกในครอบครัวในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดและบุหรี่ (3) เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและป้องกันผู้สูบหน้าใหม่ (4) เพื่อขยายการเข้าถึงบริการให้คำปรึกษาเรื่องยาเสพติดและคลินิคอดบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. คืนข้อมูลการสูบบุหรี่ 2. ให้ความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่ 3. ให้ความรู้เรื่องวิธีการลด ละ เลิกบุหรี่ 4. สอนและสาธิตการออกกำลังกายเพื่อลด ละ เลิกบุหรี่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนตะโละแมะนาร่วมใจเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่ง ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-2986-0ุ6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางภัทรพรรัตนซ้อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......