โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพรรัตนซ้อน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา
กรกฎาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย
ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-2986-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ในชุมชน (2) เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนและเครือข่ายตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อรณรงค์ให้หน่วยงานราชการ บ้าน โรงเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อให้บุคลากรและประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 3. กิจกรรมประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอา ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ปัจจุบันพบว่ามีการแพร่ระบาดของโรคไปทุกหมู่บ้านในประเทศทั้งในเขตเมืองและชนบท โดยจะพบผู้ป่วยตลอดทั้งปี และพบมีผู้ป่วยสูงสุดในช่วงฤดูฝน สาเหตุที่ทำให้ปัญหาโรคไข้เลือดออกยังคงคุกคามชีวิตคือ การขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของโรคไข้เลือดออก ทำให้ไม่มีการตื่นตัวในการร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ทั้งนี้อาจเนื่องจากการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานราชการหรือหน่วบงานที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุมถึงทุกครัวเรือน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดปัตตานี 2560 พบว่า มีผู้ป่วย 1,972 ราย มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย อำเภอทุ่งยางแดง พบว่า มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 34 ราย ตำบลตะโละแมะนา ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา จากการศึกษาข้อมูลการระบาดย้อนหลังพบว่าการระบาดของโรคไข้เลือดออกจะเป็นแบบปีเว้นปี ซึ่งอาจจะมีแนวโน้มการระบาดเกิดขึ้นในปี 2561 หากไม่มาตรการควบคุมและไม่มีการดำเนินการใดๆ อาจเกิดการระบาดในวงกว้างมาสามารถควบคุมโรค และอาจทำให้เกิดการเสียชีวิตได้
ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนาเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหานี้ จึงมีการดำเนินโครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลายขึ้น เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค และรณรงค์ให้ชุมชนเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก และร่วมมือกันในการควบคุมป้องกันโรคที่ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ในชุมชน
- เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนและเครือข่ายตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
- เพื่อรณรงค์ให้หน่วยงานราชการ บ้าน โรงเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้บุคลากรและประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 3. กิจกรรมประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอา ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- ประชาชนในชุมชนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- เกิดความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และโรงเรียน
- เครือข่ายมีความรู้ สามารถควบคุมโรคได้อย่างรวดเร็วและทันเวลา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงานกิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และทำแบบสอบถามก่อนและหลังการอบรมได้ดังนี้
- ก่อนเข้ารับการอบรมกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคไข้เลือดออก ที่ระดับปานกลางร้อยละ 66.66 ระดับพอใช้ และดี ร้อยละ 13.33
- หลังเข้ารับการอบรมกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคไข้เลือดออก ที่ระดับดีมาก ร้อยละ 60.00 และระดับดี ร้อยละ 40.00
และจากการสรุปผลการประเมินพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 80
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันยุงลาย
กิจกรรมเดินรณรงค์มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 160 คน โดยมีชาวบ้าน อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมเดินขบวนและให้ความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก แจกทรายกำจัดลูกน้ำยุงลายให้กับประชาชน เชิญชวนชาวบ้านคว่ำกะลาและกำจัดขยะบริเวณบ้านเพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย
กิจกรรม ประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ูยุงลาย
1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์กิจกรรมการประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิดปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย โดยจัดทำแผ่นประกาศ และให้ อสม.ประชาสัมพันธ์ในชุมชนกำหนดการรับสมัคร 2 สัปดาห์ มีบ้านเข้าร่วมประกวดจำนวน 5 หลัง โรงเรียนจำนวน 4 หลัง และมัสยิดจำนวน 4 มัสยิด
2. กิจกรรมจัดแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินการประกวดประเภทละ 5 คน ประกอบด้วย จนท.สาธารณสุข อสม.ครู ผู้นำศาสนา
3. ผลประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย
โดยในกิจกรรมประกวดบ้าน มีบ้านที่เข้าร่วมประกวดและส่งใบสมัครทั้งสิ้น 4 หลัง โรงเรียน 4 โรง และมัสยิด 4 แห่ง โดย ใช้คณะกรรมการ 3 ชุด ชุดละ 5 คน ในการลงประเมิน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนและเครือข่ายตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อรณรงค์ให้หน่วยงานราชการ บ้าน โรงเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อให้บุคลากรและประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ในชุมชน (2) เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนและเครือข่ายตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อรณรงค์ให้หน่วยงานราชการ บ้าน โรงเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อให้บุคลากรและประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 3. กิจกรรมประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอา ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-2986-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางภัทรพรรัตนซ้อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางภัทรพรรัตนซ้อน
กรกฎาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-2986-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ในชุมชน (2) เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนและเครือข่ายตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อรณรงค์ให้หน่วยงานราชการ บ้าน โรงเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อให้บุคลากรและประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 3. กิจกรรมประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอา ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ปัจจุบันพบว่ามีการแพร่ระบาดของโรคไปทุกหมู่บ้านในประเทศทั้งในเขตเมืองและชนบท โดยจะพบผู้ป่วยตลอดทั้งปี และพบมีผู้ป่วยสูงสุดในช่วงฤดูฝน สาเหตุที่ทำให้ปัญหาโรคไข้เลือดออกยังคงคุกคามชีวิตคือ การขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของโรคไข้เลือดออก ทำให้ไม่มีการตื่นตัวในการร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ทั้งนี้อาจเนื่องจากการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานราชการหรือหน่วบงานที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุมถึงทุกครัวเรือน สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดปัตตานี 2560 พบว่า มีผู้ป่วย 1,972 ราย มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย อำเภอทุ่งยางแดง พบว่า มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 34 ราย ตำบลตะโละแมะนา ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา จากการศึกษาข้อมูลการระบาดย้อนหลังพบว่าการระบาดของโรคไข้เลือดออกจะเป็นแบบปีเว้นปี ซึ่งอาจจะมีแนวโน้มการระบาดเกิดขึ้นในปี 2561 หากไม่มาตรการควบคุมและไม่มีการดำเนินการใดๆ อาจเกิดการระบาดในวงกว้างมาสามารถควบคุมโรค และอาจทำให้เกิดการเสียชีวิตได้ ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนาเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหานี้ จึงมีการดำเนินโครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลายขึ้น เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค และรณรงค์ให้ชุมชนเห็นความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก และร่วมมือกันในการควบคุมป้องกันโรคที่ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ในชุมชน
- เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนและเครือข่ายตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
- เพื่อรณรงค์ให้หน่วยงานราชการ บ้าน โรงเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้บุคลากรและประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 3. กิจกรรมประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอา ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 160 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- ประชาชนในชุมชนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- เกิดความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และโรงเรียน
- เครือข่ายมีความรู้ สามารถควบคุมโรคได้อย่างรวดเร็วและทันเวลา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงานกิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และทำแบบสอบถามก่อนและหลังการอบรมได้ดังนี้
- ก่อนเข้ารับการอบรมกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคไข้เลือดออก ที่ระดับปานกลางร้อยละ 66.66 ระดับพอใช้ และดี ร้อยละ 13.33
- หลังเข้ารับการอบรมกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคไข้เลือดออก ที่ระดับดีมาก ร้อยละ 60.00 และระดับดี ร้อยละ 40.00
และจากการสรุปผลการประเมินพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 80
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันยุงลาย
กิจกรรมเดินรณรงค์มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 160 คน โดยมีชาวบ้าน อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมเดินขบวนและให้ความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก แจกทรายกำจัดลูกน้ำยุงลายให้กับประชาชน เชิญชวนชาวบ้านคว่ำกะลาและกำจัดขยะบริเวณบ้านเพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย
กิจกรรม ประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ูยุงลาย
1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์กิจกรรมการประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิดปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย โดยจัดทำแผ่นประกาศ และให้ อสม.ประชาสัมพันธ์ในชุมชนกำหนดการรับสมัคร 2 สัปดาห์ มีบ้านเข้าร่วมประกวดจำนวน 5 หลัง โรงเรียนจำนวน 4 หลัง และมัสยิดจำนวน 4 มัสยิด
2. กิจกรรมจัดแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินการประกวดประเภทละ 5 คน ประกอบด้วย จนท.สาธารณสุข อสม.ครู ผู้นำศาสนา
3. ผลประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย
โดยในกิจกรรมประกวดบ้าน มีบ้านที่เข้าร่วมประกวดและส่งใบสมัครทั้งสิ้น 4 หลัง โรงเรียน 4 โรง และมัสยิด 4 แห่ง โดย ใช้คณะกรรมการ 3 ชุด ชุดละ 5 คน ในการลงประเมิน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ในชุมชน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนและเครือข่ายตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อรณรงค์ให้หน่วยงานราชการ บ้าน โรงเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้บุคลากรและประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 160 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก ในชุมชน (2) เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนและเครือข่ายตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อรณรงค์ให้หน่วยงานราชการ บ้าน โรงเรียน มีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อให้บุคลากรและประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. กิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 3. กิจกรรมประกวดบ้าน โรงเรียน มัสยิด สะอา ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนตะโละแมะนา ปลอดลูกน้ำยุงลาย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-2986-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางภัทรพรรัตนซ้อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......