โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5303-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5303-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่งที่สามารถป้องกันได้ ซึ่งการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตเนื่องจากโรคไข้เลือดออกส่งผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจเป็นอย่างมากจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในปี 2560(ม.ค.-ธค.) มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกกระจายทั่วทั้งจังหวัดสตูลอย่างต่อเนื่องมากเป็นอันดับต้นๆของประเทศ และพบผู้ป่วยในพื้นที่อำเภอเมืองสตูล จากลักษณะการระบาดในอดีตกล่าวคือระบาด 2 ปีเว้น 1 ปี และจากสถานการณ์ในต้นปี2560ถ้าไม่มีการดำเนินการรณรงค์ควบคุมและป้องกันอย่างจริงจังและต่อเนื่องแล้ว คาดว่าจะเกิดการแพร่ระบาดมากขึ้น ในปี 2561
ผู้นำชุมชน อบต.อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวได้ร่วมกันจัดการประชุมแบบมีส่วนร่วม (AIC) เพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ขึ้นได้มีการรณรงค์สำรวจลูกน้ำยุงลายพร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเสนอแนวทางการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก คือ ต้องให้ประชาชนตระหนักถึงความร้ายแรงและเห็นความจำเป็นพร้อมทั้งร่วมมือป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ดังนั้นกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุมร่วมกับรพ.สต.เจ๊ะบิลังจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกขึ้นในพื้นที่ถ้าไม่ได้รับการควบคุมและการป้องกันโรคอย่างทันท่วงทีและต่อเนื่องจะทำให้เกิดการระบาดได้อย่างรวดเร็วและหากมีผู้ป่วยเกิดขึ้นไม่ได้รับการวินิจฉัยและรับการรักษาอย่างถูกต้องก็จะทำให้เกิดการเสียชีวิตของผู้ป่วยในอัตราค่อนข้างสูง
จากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกดังที่กล่าวมาข้างต้นทำให้คาดการณ์ได้ว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก อาจจะมีแนวโน้มรุนแรงขึ้นกว่าในปัจจุบัน ถ้าชุมชนไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมดำเนินกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนของชุมชน จึงได้จัดโครงการพัฒนาความรู้ การดูแลสุขภาพเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคไข้เลือดออก สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงการเกิดโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- สร้างนโยบายชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย
- ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้
- ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี
- 2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข คณะกรรมการชุมชน นักเรียน และทีม SRRT
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.จำนวนอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุลดลง
2.สามารถลดอัตราการแพร่โรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาและชุมชน
3.ไม่มีรายงานพบชุมชนที่มีการเกิดโรคใน generation ที่ ๒ ในผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
4.ค่าHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) และค่า Container Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (CI ≤ 10)
5.ในสถานบริการต่างๆ เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และสถานที่ราชการที่ภาคส่วนมีค่า CI = 0 ร้อยละ ๑๐๐
6.ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก มีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี
วันที่ 9 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี
2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข คณะกรรมการชุมชน นักเรียน และทีม SRRT
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จำนวนอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุลดลง
- สามารถลดอัตราการแพร่โรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาและชุมชน
- ไม่มีรายงานพบชุมชนที่มีการเกิดโรคใน generation ที่ ๒ ในผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- ค่าHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) และค่า Container Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (CI ≤ 10)
- ในสถานบริการต่างๆ เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และสถานที่ราชการที่ภาคส่วน มีค่า CI = 0 ร้อยละ ๑๐๐
- ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก มีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
75
0
2. 2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข คณะกรรมการชุมชน นักเรียน และทีม SRRT
วันที่ 16 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี
- รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข คณะกรรมการชุมชน นักเรียน และทีม SRRT
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จำนวนอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุลดลง
- สามารถลดอัตราการแพร่โรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาและชุมชน
- ไม่มีรายงานพบชุมชนที่มีการเกิดโรคใน generation ที่ ๒ ในผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- ค่าHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) และค่า Container Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (CI ≤ 10)
- ในสถานบริการต่างๆ เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และสถานที่ราชการที่ภาคส่วน มีค่า CI = 0 ร้อยละ ๑๐๐
- ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก มีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
75
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
สร้างนโยบายชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : สร้างนโยบายชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ ๙๐
0.00
2
ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้
ตัวชี้วัด : ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี และร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
0.00
3
ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายไม่เกิน ร้อยละ 10
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
75
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างนโยบายชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย (2) ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้ (3) ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี (2) 2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข คณะกรรมการชุมชน นักเรียน และทีม SRRT
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5303-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5303-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5303-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เจ๊ะบิลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่งที่สามารถป้องกันได้ ซึ่งการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตเนื่องจากโรคไข้เลือดออกส่งผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจเป็นอย่างมากจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในปี 2560(ม.ค.-ธค.) มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกกระจายทั่วทั้งจังหวัดสตูลอย่างต่อเนื่องมากเป็นอันดับต้นๆของประเทศ และพบผู้ป่วยในพื้นที่อำเภอเมืองสตูล จากลักษณะการระบาดในอดีตกล่าวคือระบาด 2 ปีเว้น 1 ปี และจากสถานการณ์ในต้นปี2560ถ้าไม่มีการดำเนินการรณรงค์ควบคุมและป้องกันอย่างจริงจังและต่อเนื่องแล้ว คาดว่าจะเกิดการแพร่ระบาดมากขึ้น ในปี 2561
ผู้นำชุมชน อบต.อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวได้ร่วมกันจัดการประชุมแบบมีส่วนร่วม (AIC) เพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ขึ้นได้มีการรณรงค์สำรวจลูกน้ำยุงลายพร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายเสนอแนวทางการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก คือ ต้องให้ประชาชนตระหนักถึงความร้ายแรงและเห็นความจำเป็นพร้อมทั้งร่วมมือป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ดังนั้นกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุมร่วมกับรพ.สต.เจ๊ะบิลังจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกขึ้นในพื้นที่ถ้าไม่ได้รับการควบคุมและการป้องกันโรคอย่างทันท่วงทีและต่อเนื่องจะทำให้เกิดการระบาดได้อย่างรวดเร็วและหากมีผู้ป่วยเกิดขึ้นไม่ได้รับการวินิจฉัยและรับการรักษาอย่างถูกต้องก็จะทำให้เกิดการเสียชีวิตของผู้ป่วยในอัตราค่อนข้างสูง
จากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกดังที่กล่าวมาข้างต้นทำให้คาดการณ์ได้ว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก อาจจะมีแนวโน้มรุนแรงขึ้นกว่าในปัจจุบัน ถ้าชุมชนไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมดำเนินกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนของชุมชน จึงได้จัดโครงการพัฒนาความรู้ การดูแลสุขภาพเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคไข้เลือดออก สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงการเกิดโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- สร้างนโยบายชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย
- ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้
- ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี
- 2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข คณะกรรมการชุมชน นักเรียน และทีม SRRT
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 75 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.จำนวนอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุลดลง
2.สามารถลดอัตราการแพร่โรคไข้เลือดออกในสถานศึกษาและชุมชน
3.ไม่มีรายงานพบชุมชนที่มีการเกิดโรคใน generation ที่ ๒ ในผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
4.ค่าHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) และค่า Container Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (CI ≤ 10)
5.ในสถานบริการต่างๆ เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และสถานที่ราชการที่ภาคส่วนมีค่า CI = 0 ร้อยละ ๑๐๐
6.ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก มีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี |
||
วันที่ 9 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
75 | 0 |
2. 2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข คณะกรรมการชุมชน นักเรียน และทีม SRRT |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
75 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | สร้างนโยบายชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย ตัวชี้วัด : สร้างนโยบายชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ ๙๐ |
0.00 |
|
||
2 | ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้ ตัวชี้วัด : ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี และร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก |
0.00 |
|
||
3 | ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ตัวชี้วัด : ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายไม่เกิน ร้อยละ 10 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 75 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 75 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างนโยบายชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย (2) ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้ (3) ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี (2) 2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข คณะกรรมการชุมชน นักเรียน และทีม SRRT
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ชุมชน 4.0 ร่วมต้านภัยไข้เลือดออก ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5303-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......