กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชน เพื่อจัดการสุขภาพชุมชน ปี 2561 ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายสุลัยมาน เจ๊ะมะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชน เพื่อจัดการสุขภาพชุมชน ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8423-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มีนาคม 2561 ถึง 27 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชน เพื่อจัดการสุขภาพชุมชน ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชน เพื่อจัดการสุขภาพชุมชน ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชน เพื่อจัดการสุขภาพชุมชน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8423-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มีนาคม 2561 - 27 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 81,450.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลทำให้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพโดยรวมของประชาชนไทย การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คือ ประชาชนมีอายุยืนยาวขึ้น การเจ็บป่วยและเสียชีวิตลดลง ทำให้มีสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น คนไทยใช้ชีวิตแบบรีบเร่งและแข่งขันมากขึ้น และนำมาซึ่งพฤติกรรมบางอย่างที่ส่งผลกระทบทางด้านลบต่อสุขภาพ เช่น ขาดการออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง รับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอการสูบบุหรี่ พฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ ดังกล่าว ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา ที่สำคัญได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด อัมพาต อัมพฤกษ์ ภาวะวิตกกังวลและความเครียด และโรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งโรคหรืออาการต่าง ๆ ดังกล่าว เป็นโรคหรืออาการเรื้อรัง ที่เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขของประเทศไทยในปัจจุบัน และมีแนวโน้มของปัญหาที่รุนแรงมากขึ้น กระทรวงสาธารณสุขเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพเพื่อให้คนไทยทุกคนมีสุขภาพดี การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการดูแลจัดการด้านสุขภาพ จะนำไปสู่การป้องกันและลดปัญหา และส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพได้อย่างยั่งยืน กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยใช้กลวิธีสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทยดำเนินการมากว่า 20 ปี มีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เป็นกลไกสำคัญในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงอสม. ถือเป็นผู้ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศโดย อสม. 1 คน ดูแลรับผิดชอบประชาชน 8-15 หลังคาเรือน ทำหน้าที่ แก้ข่าวร้าย กระจายข่าวดี ชี้บริการ ประสานงานสาธารณสุขบำบัดทุกข์ให้ประชาชน ทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี ซึ่งในปัจจุบัน อสม.ต้องมีบทบาทมากขึ้นทั้งในด้านการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพให้กับคนในชุมชน การให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน การเป็นผู้เชื่อมประสานระหว่างเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ กับประชาชน และกลุ่ม/องค์กรต่าง ๆ ในชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาและการสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการดูแลจัดการด้านสุขภาพ เชื่อมโยงไปถึงการพัฒนาด้านอื่น ๆ การรวมพลังกับแกนนำสุขภาพอื่น ๆ ในการสร้างสุขภาพ การเฝ้าระวังโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ รวมถึงเป็นผู้นำในการรณรงค์ด้านสุขภาพต่าง ๆ ในชุมชน จากสภาพปัญหาและวิถีของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ อสม.จำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น อีกทั้งจากการที่รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาประเทศไทยให้เป็น “ประเทศไทย 4.0” หรือ “Thailand 4.0” โดยมุ่งเน้นการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะการนำเทคโนโลยีดิจิตัลเข้ามาเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ยกระดับคุณภาพของการให้บริการสาธารณสุขแก่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยกระทรวงสาธารณสุขได้จัดทำยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ตั้งเป้าหมายให้ “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน” ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ คือยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเป็นเลิศยุทธศาสตร์ที่ 3 บุคลากรเป็นเลิศ และยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ถือเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญและเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนงานสุขภาพภาคประชาชนของประเทศไทย อยู่ใกล้ชิดประชาชน เป็นอาสาสมัครที่ทำงานด้วยความมีจิตอาสาในการดูแลสุขภาพประชาชน ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขให้มีศักยภาพ ทักษะ และความพร้อมตามนโยบายการดำเนินงานด้านสาธารณสุขของยุทธศาสตร์ชาติ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและประชาชนในชุมชนได้ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพของคนในพื้นที่ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ตามแนวทางการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขยุทธศาสตร์ชาติ (อสม. 4.0)
  2. เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขในการเป็นผู้นำด้านการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ สามารถให้ความรู้ และแสดงบทบาทสำคัญในภารกิจขั้นพื้นฐานของอาสาสมัครสาธารณสุขได้
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและประชาชนในชุมชน ทั้ง 14 องค์ประกอบ ได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมพัฒนาศักยภาพ (อสม.4.0)
  2. อบรมพัฒนาศักยภาพประชาชน (14 องค์ประกอบ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 177
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนที่ผ่านการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถถ่ายทอดความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ชุมชนมีการจัดระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพของชุมชน และสามารถจัดการด้านสุขภาพในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาพประชาชนได


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ตามแนวทางการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขยุทธศาสตร์ชาติ (อสม. 4.0)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขในการเป็นผู้นำด้านการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ สามารถให้ความรู้ และแสดงบทบาทสำคัญในภารกิจขั้นพื้นฐานของอาสาสมัครสาธารณสุขได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและประชาชนในชุมชน ทั้ง 14 องค์ประกอบ ได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 177
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 177
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ตามแนวทางการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขยุทธศาสตร์ชาติ (อสม. 4.0)  (2) เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขในการเป็นผู้นำด้านการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ สามารถให้ความรู้ และแสดงบทบาทสำคัญในภารกิจขั้นพื้นฐานของอาสาสมัครสาธารณสุขได้ (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและประชาชนในชุมชน ทั้ง 14 องค์ประกอบ ได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพ (อสม.4.0) (2) อบรมพัฒนาศักยภาพประชาชน (14 องค์ประกอบ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพประชาชน เพื่อจัดการสุขภาพชุมชน ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8423-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุลัยมาน เจ๊ะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด