โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ ”
โรงเรียนบ้านปิใหญ่ หมู่ที่ 5 ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านปิใหญ่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านปิใหญ่ หมู่ที่ 5 ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561– L8010 – 2 - 01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านปิใหญ่ หมู่ที่ 5 ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจสุขภาพ ของโรงเรียนบ้านปิใหญ่ ปีการศึกษา 2561 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.)เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในกลุ่มเด็ก 5 -13 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.) เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัวในโรงเรียนบ้านปิใหญ่ มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้ 3.) เพื่อให้เด็ดที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม และดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ 4.) เพื่อส่งเสริม พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรักการออกกำลังกาย 5.) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและผู้ปกครองในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และสร้างความรัก ความสามัคคีในชุมชน
สรุปลผลการดำเนินโครงการ ซึ่งผลการดำเนินโครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ พบว่า มีค่าเฉลี่ยรวมทุกกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด
กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำเอกสารสมุบันทึกสุขภาพนักเรียน โดยจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน และทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม และมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามเรื่องภาวะทุพโภชนาการและการได้รับประทานอาหารของเด็กขณะอยู่ที่บ้าน และจัดทำคู่มือเมนูอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน แจกให้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 2 อบรม/ให้ความรู้
กิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่า คะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 81.04 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินรายข้อ พบว่า ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมและความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความสำคัญของอาหาร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.63 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน มีค่าเฉลี่ย 81.43 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มี่าเฉลี่ยต่ำสุด 77.05
กิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ไข่แปลงร่าง" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.14 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความรู้ประโยชน์ของไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 81.47 ส่วนความรู้ที่ไ้รับจากหัวข้อ ไข่แปลงร่าง คืออะไร มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 79.58
กิจกรรมที่ 2.3 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สลัดผัก/ผักโรล" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.30 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำสลัดผัก/ผักโรล มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมและความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.4 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ผักกร๊อบกรอบ" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.43 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อเมนูผักกร๊อบกรอบ คืออะไร และความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.5 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ซูชิแฟนซี" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.96 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม และความรู้ ขั้นตอนการทำซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ย 82.36 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.84
กิจกรรมที่ 2.6 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สมูทตี้ผัก-ผลไม้" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.85 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ ประโยชน์ของสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 83.16 รองลงมาคือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมและความรู้และขั้นตอนการทำสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ย 82.74 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพและเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเดือนละครั้ง ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด มีจำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรม พบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน (สนาม BBL) โดยนักเรียนและผู้ปกครอง ผลการดำเนินงาน โรงเรียนมีลานตัวหนอนเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 2 จุด คือ ถนนหน้าอาคารเรียน 1 และลานตัวหนอนหน้าอาคารเรียนอนุบาล โดยเด็กจะใช้ลานตัวหนอนในการเล่นออกกำลังกายในช่วงเวลาว่าง หรือตอนพักกลางวัน มาเล่นกิจกรรมการเรียนรู้บนลานตัวหนอนต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
4.2 กิจกรรมการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง โรงเรียนจัดตั้งชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพ มีชมรมวอลเลย์บอล ชมรมแบตมินตัน ชมรมฟุตบอล และชมรมฮูลาฮูป เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนหรือใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มาออกกำลังกายก่อนกลับบ้าน จัดเตรียมอุปกรณ์การออกกำลังกายให้กับนักเรียนทุกคนได้ใช้อย่างพอเพียง จากการดำเนินงานตามโครงการที่กล่าวมาแล้ว ส่งผลให้เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน รู้จักหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ถัย และสิ่งเสพติด การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเลื่อนไหวตามวัย
4.3 กิจกรรมเต้นแอโรบิคเพื่อออกกำลังกายในตอนเย็น เพื่อให้นักเรียน ประชาชน มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และเพื่อสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ผลการดำเนินการ ทางโรงเรียนเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นแอโรบิคแบบง่ายๆ เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง ในช่วงตอนเย็น ส่งผลให้เด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเคลื่อนไหวตามวัย
4.4 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ผลการดำเนินการเพื่อดูแลและแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้เรียนดูแลให้ผู้เรียนรักษาความสะอาดอนามัยส่วนตัว จัดกิจกรรมแปรงฟังหลังอาหารกลางวัน โดยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลละงู มาอบรมวิธีการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กวัยเรียน สอนวิธีการแปรงฟัน การตรวจฟันเพื่อรักษาและตรวจสุขภาพฟัน พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 83.80 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ วิธีการใช้สีย้อมฟัน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 90.00 รองลงมา คือความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ การสาธิตการแปรงฟันและฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธี มีค่าเฉลี่ย 84.14 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 81.61
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัย มีพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสมเช่นการไม่รับประทานผักผลไม้ เด็กเบื่ออาหารเด็กชอบกินขนมกรุบกรอบ เป็นต้นซึ่งปัญหาเหล่านี้จะส่งผลให้เกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกีฬา จะทำให้ร่างกายแข็งแรงจิตใจสดชื่น ดังคำกล่าวที่ว่า "จิตใจที่งดงามย่อมอยู่ในร่างกายแข็งแรง" แสดงว่าร่างกายกับจิตใจมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก ถ้าร่างกายแข็งแรงจิตใจก็จะเบิกบานหรือในทางกลับกัน ถ้ามีจิตใจเข้มแข็งจะเกิดพลังหรือกำลังใจ ทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้นซึ่งทางโรงเรียนบ้านปิใหญ่ได้จัดทำ “โครงการเด็กปิใหญ่สดใสใส่ใจรักษ์สุขภาพ”ซึ่งมีกิจกรรมการให้ความรู้ทางโภชนาการในเด็กวัยเรียนกิจกรรมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียนและบุคคลากรภายในโรงเรียนได้มีการออกกำลังกายและเล่นกีฬากัน เป็นการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจให้สมบูรณ์แข็งแรง ซึ่งจะส่งผลต่อพัฒนาการเด็กทั้งทางด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (Well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม ปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว สังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และเพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป ปัญหาในการดำเนินส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมาก จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 5-13 ปี พ.ศ.2560 พบว่า เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปิใหญ่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ พบว่า เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 15.45เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มีจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 13.82 , เด็กที่มีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มีจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 8.94 รวมจำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวน47คนคิดเป็นร้อยละ38.52นอกจากนี้ยังมีเด็กที่ไม่กินผัก จำนวน 39 คนคิดเป็นร้อยละ 31.71 มีนักเรียนชั้นปฐมวัยและเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ไม่กินไข่จำนวน23คนคิดเป็นร้อยละ 18.70และเด็กที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปาก จำนวน 40คน คิดเป็นร้อยละ 32.79ซึ่งจากปัญหาเหล่านี้จะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมา จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต การแก้ไขปัญหาโดยการมีมุมส่งเสริมโภชนากการและพัฒนาการเด็กในสถานศึกษา และการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านปิใหญ่จึงได้จัดทำโครงการ“เด็กปิใหญ่สดใสใส่ใจรักษ์สุขภาพ” เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็กและติดตามเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์, เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยงส่งเสริมเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย เป็นการเพิ่มทักษะให้เด็กในการประกอบอาหาร ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ ทางด้านสติปัญญาด้วย สนาม BBL โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในกลุ่มเด็ก 5-13 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้
- เพื่อให้เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย
- เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย
- เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงปัญหาโรคฟันผุลดลง และลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้และสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก
- กิจกรรมติดตามเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์, เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยงโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง และแม่ครัว โรงเรียนบ้านปิใหญ่
- กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
- กิจกรรมที่ 2.2 เสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานกองทุนฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
122
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 5-13 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการอย่างครอบคลุม
- ครู ผู้ปกครอง และแม่ครัวมีความรู้และเข้าใจเรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก
- เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามวัย
- เด็กมีภาวะโรคฟันผุลดลงและได้รับการรักษาที่ถูกวิธี
- เด็ก ครูผู้ปกครองมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้และลดปัญหาทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก
วันที่ 22 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.1ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กอายุ 5- 12 ปี
1.2 บันทึกผลในสมุดทะเบียนเด็กและสมุดบันทึกสุขภาพเด็ก พร้อมแจ้งผู้ปกครองให้ทราบ
1.3 จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นรายเฉพาะ
1.4 จัดทำคู่มือเมนูอาหารแต่ละชนิด คุณประโยชน์ของอาหารแต่ละชนิดและโภชนาการสำหรับเด็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก
โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำเอกสารสมุบันทึกสุขภาพนักเรียน โดยจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน และทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม และมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามเรื่องภาวะทุพโภชนาการและการได้รับประทานอาหารของเด็กขณะอยู่ที่บ้าน และจัดทำคู่มือเมนูอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน แจกให้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
122
0
2. กิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง และแม่ครัว โรงเรียนบ้านปิใหญ่
วันที่ 7 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้ เรื่อง
การดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน
ความสำคัญของอาหาร
วิธีการปรับพฤติกรรมและนิสัยการกินของเด็ก
โรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่า คะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 81.04 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินรายข้อ พบว่า ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมและความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความสำคัญของอาหาร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.63 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน มีค่าเฉลี่ย 81.43 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มี่าเฉลี่ยต่ำสุด 77.05
95
0
3. กิจกรรมที่ 2.2 เสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร
วันที่ 15 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
สอน/สาธิต การทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย เป็นการเพิ่มทักษะให้เด็กในการประกอบอาหาร ได้แก่
1.ไข่แปรงร่าง
2.สลัดผัก/ผักโรล
3.ผักกร๊อบกรอบ
4.ซูชิแฟนซี
5.สมู๊ทตี้ผัก-ผลไม้
โดยการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ปกครอง เด็ก สำหรับกลุ่มเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 2.2 เสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร
กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ไข่แปลงร่าง" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.14 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความรู้ประโยชน์ของไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 81.47 ส่วนความรู้ที่ไ้รับจากหัวข้อ ไข่แปลงร่าง คืออะไร มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 79.58
กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สลัดผัก/ผักโรล" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.30 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำสลัดผัก/ผักโรล มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมและความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ผักกร๊อบกรอบ" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.43 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อเมนูผักกร๊อบกรอบ คืออะไร และความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ซูชิแฟนซี" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.96 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม และความรู้ ขั้นตอนการทำซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ย 82.36 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.84
กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สมูทตี้ผัก-ผลไม้" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.85 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ ประโยชน์ของสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 83.16 รองลงมาคือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมและความรู้และขั้นตอนการทำสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ย 82.74 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
95
0
4. กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
วันที่ 21 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน
- หนอนน้อยนับเลข
- หนอนน้อยเรียนรู้เลข
- ตารางกระโดด 9 ช่อง
- ตารางอีฉุด
- ตารางเรียนรู้ภาษาไทย
- ตารางเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
4.2 ออกกำลังกายตามความสนใจ
- ครูและเด็กนักเรียนร่วมกันออกกำลังกายเพื่อสุขภาพทุกวัน เวลา 15.00-16.00 น. ตามชมรมต่างๆ ดังนี้
1. ชมรมวอลเล่ย์บอล
2. ชมรมแบตมินตัน
3. ชมรมฮูลาฮุป
4. ชมรมฟุตบอล
- แกนนำนักเรียนบันทึกผลการออกกำลังกายของแต่ละชมรม รายงานครูผู้รับผิดชอบ
- ครูผู้รับผิดชอบแต่ละชมรม ทดสอบสมรรถภาพร่างกายหรือประเมินความแข็งแรงของร่างกายของสมาชิกในชมรมทุก 3 เดือน
4.3เต้นแอโรบิกตอนเย็น
- รับสมัครสมาชิกการออกกำลังกานโดยการเต้นแอโรบิค
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคจำนวน 5 วันๆละ 2 ชั่วโมง
- ออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคทุกวัน โดยผู้ที่ผ่านการอบรมผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้นำในการเต้นแอโรบิค
- วัดความดันโลหิตและน้ำหนัก ส่วนสูง ก่อนดำเนินกิจกรรมและหลังดำเนินกิจกรรม อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อเปรียบเทียบภาวะสุขภาพของสมาชิก
- สมาชิกที่ร่วมออกกำลังกายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ผู้ดูแลระบบเรียกมาเพื่อให้คำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
4.4 ส่งเสริมทันตสุขภาพ
- คัดเลือกแกนนำนักเรียนหรือสารวัตรนักเรียน เพื่อทำหน้าที่ตรวจสุขภาพในช่องปากของนักเรียนเบื้องต้น รายงานครูผู้รับผิดชอบ
- อบรมให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพ สำหรับเด็กวัยเรียน หลักสูตร1 วัน
- รณรงค์ให้นักเรียนทุกคน แปรงฟันหลังอาหารทุกวัน
- บันทึกการแปรงฟันและตรวจสอบโดยแกนนำนักเรียน
- กรณีเจอนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากไม่รุนแรง ครูผู้ดูแลเชิญผู้ปกครองมาให้คำปรึกษา แนะนำ
- กรณีเจอนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากรุนแรง ครูผู้ดูแลเชิญผู้ปกครอง เพื่อส่งต่อไปรับการรักษา ณ โรงพยาบาลหรือคลินิคทันตแพทย์ต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน (สนาม BBL) โดยนักเรียนและผู้ปกครอง ผลการดำเนินงาน โรงเรียนมีลานตัวหนอนเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 2 จุด คือ ถนนหน้าอาคารเรียน 1 และลานตัวหนอนหน้าอาคารเรียนอนุบาล โดยเด็กจะใช้ลานตัวหนอนในการเล่นออกกำลังกายในช่วงเวลาว่าง หรือตอนพักกลางวัน มาเล่นกิจกรรมการเรียนรู้บนลานตัวหนอนต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
4.2 กิจกรรมการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง โรงเรียนจัดตั้งชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพ มีชมรมวอลเลย์บอล ชมรมแบตมินตัน ชมรมฟุตบอล และชมรมฮูลาฮูป เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนหรือใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มาออกกำลังกายก่อนกลับบ้าน จัดเตรียมอุปกรณ์การออกกำลังกายให้กับนักเรียนทุกคนได้ใช้อย่างพอเพียง จากการดำเนินงานตามโครงการที่กล่าวมาแล้ว ส่งผลให้เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน รู้จักหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ถัย และสิ่งเสพติด การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเลื่อนไหวตามวัย
4.3 กิจกรรมเต้นแอโรบิคเพื่อออกกำลังกายในตอนเย็น เพื่อให้นักเรียน ประชาชน มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และเพื่อสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ผลการดำเนินการ ทางโรงเรียนเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นแอโรบิคแบบง่ายๆ เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง ในช่วงตอนเย็น ส่งผลให้เด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเคลื่อนไหวตามวัย
4.4 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ผลการดำเนินการเพื่อดูแลและแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้เรียนดูแลให้ผู้เรียนรักษาความสะอาดอนามัยส่วนตัว จัดกิจกรรมแปรงฟังหลังอาหารกลางวัน โดยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลละงู มาอบรมวิธีการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กวัยเรียน สอนวิธีการแปรงฟัน การตรวจฟันเพื่อรักษาและตรวจสุขภาพฟัน พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 83.80 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ วิธีการใช้สีย้อมฟัน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 90.00 รองลงมา คือความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ การสาธิตการแปรงฟันและฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธี มีค่าเฉลี่ย 84.14 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 81.61
172
0
5. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานกองทุนฯ
วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดทำรูปเล่มรายงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้จัดทำรูปเล่มรายงาน
0
0
6. กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ
วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
เยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 เดือน พร้อมทั้งแนะนำผู้ปกครองให้ดำเนินการต่อเนื่อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพและเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเดือนละครั้ง ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด มีจำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรม พบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
47
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำเอกสารสมุบันทึกสุขภาพนักเรียน โดยจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน และทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม และมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามเรื่องภาวะทุพโภชนาการและการได้รับประทานอาหารของเด็กขณะอยู่ที่บ้าน และจัดทำคู่มือเมนูอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน แจกให้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร
กิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่า คะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 81.04 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินรายข้อ พบว่า ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมและความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความสำคัญของอาหาร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.63 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน มีค่าเฉลี่ย 81.43 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มี่าเฉลี่ยต่ำสุด 77.05
กิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ไข่แปลงร่าง" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.14 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความรู้ประโยชน์ของไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 81.47 ส่วนความรู้ที่ไ้รับจากหัวข้อ ไข่แปลงร่าง คืออะไร มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 79.58
กิจกรรมที่ 2.3 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สลัดผัก/ผักโรล" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.30 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำสลัดผัก/ผักโรล มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมและความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.4 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ผักกร๊อบกรอบ" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.43 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อเมนูผักกร๊อบกรอบ คืออะไร และความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.5 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ซูชิแฟนซี" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.96 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม และความรู้ ขั้นตอนการทำซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ย 82.36 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.84
กิจกรรมที่ 2.6 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สมูทตี้ผัก-ผลไม้" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.85 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ ประโยชน์ของสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 83.16 รองลงมาคือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมและความรู้และขั้นตอนการทำสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ย 82.74 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพและเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเดือนละครั้ง ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด มีจำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรม พบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน (สนาม BBL) โดยนักเรียนและผู้ปกครอง ผลการดำเนินงาน โรงเรียนมีลานตัวหนอนเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 2 จุด คือ ถนนหน้าอาคารเรียน 1 และลานตัวหนอนหน้าอาคารเรียนอนุบาล โดยเด็กจะใช้ลานตัวหนอนในการเล่นออกกำลังกายในช่วงเวลาว่าง หรือตอนพักกลางวัน มาเล่นกิจกรรมการเรียนรู้บนลานตัวหนอนต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
4.2 กิจกรรมการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง โรงเรียนจัดตั้งชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพ มีชมรมวอลเลย์บอล ชมรมแบตมินตัน ชมรมฟุตบอล และชมรมฮูลาฮูป เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนหรือใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มาออกกำลังกายก่อนกลับบ้าน จัดเตรียมอุปกรณ์การออกกำลังกายให้กับนักเรียนทุกคนได้ใช้อย่างพอเพียง จากการดำเนินงานตามโครงการที่กล่าวมาแล้ว ส่งผลให้เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน รู้จักหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ถัย และสิ่งเสพติด การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเลื่อนไหวตามวัย
4.3 กิจกรรมเต้นแอโรบิคเพื่อออกกำลังกายในตอนเย็น เพื่อให้นักเรียน ประชาชน มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และเพื่อสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ผลการดำเนินการ ทางโรงเรียนเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นแอโรบิคแบบง่ายๆ เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง ในช่วงตอนเย็น ส่งผลให้เด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเคลื่อนไหวตามวัย
4.4 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ผลการดำเนินการเพื่อดูแลและแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้เรียนดูแลให้ผู้เรียนรักษาความสะอาดอนามัยส่วนตัว จัดกิจกรรมแปรงฟังหลังอาหารกลางวัน โดยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลละงู มาอบรมวิธีการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กวัยเรียน สอนวิธีการแปรงฟัน การตรวจฟันเพื่อรักษาและตรวจสุขภาพฟัน พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 83.80 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ วิธีการใช้สีย้อมฟัน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 90.00 รองลงมา คือความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ การสาธิตการแปรงฟันและฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธี มีค่าเฉลี่ย 84.14 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 81.61
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในกลุ่มเด็ก 5-13 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 5-13 ปี
100.00
100.00
2
เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัวโรงเรียนบ้านปิใหญ่ มีความรู้เรื่องภาวะ
โภชนาการในเด็ก
2. เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ไม่กินไข่ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80
3. เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ไม่กินผัก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80
80.00
82.63
3
เพื่อให้เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์,เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ
2. เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ
3. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ
4. เด็กที่มีความสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไขร้อยละ 100
100.00
100.00
4
เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
80.00
80.00
5
เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
80.00
80.00
6
เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงปัญหาโรคฟันผุลดลง และลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้และสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง( ดูจากสถิติการเจ็บป่วยในรอบ 6 เดือน )
2. เด็กนักเรียนร้อย 80 มีการออกกำลังหลังเลิกเรียนอย่างน้อย 30 นาที
3. เด็กนักเรียนร้อย 80 มีสมรรถภาพร่างกายเหมาะสมกับวัย
4. เด็กนักเรียนร้อยละ 80 รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและโรคฟันผุลดลง
5. เด็กที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
122
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
122
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจสุขภาพ ของโรงเรียนบ้านปิใหญ่ ปีการศึกษา 2561 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.)เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในกลุ่มเด็ก 5 -13 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.) เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัวในโรงเรียนบ้านปิใหญ่ มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้ 3.) เพื่อให้เด็ดที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม และดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ 4.) เพื่อส่งเสริม พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรักการออกกำลังกาย 5.) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและผู้ปกครองในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และสร้างความรัก ความสามัคคีในชุมชน
สรุปลผลการดำเนินโครงการ ซึ่งผลการดำเนินโครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ พบว่า มีค่าเฉลี่ยรวมทุกกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด
กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำเอกสารสมุบันทึกสุขภาพนักเรียน โดยจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน และทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม และมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามเรื่องภาวะทุพโภชนาการและการได้รับประทานอาหารของเด็กขณะอยู่ที่บ้าน และจัดทำคู่มือเมนูอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน แจกให้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 2 อบรม/ให้ความรู้
กิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่า คะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 81.04 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินรายข้อ พบว่า ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมและความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความสำคัญของอาหาร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.63 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน มีค่าเฉลี่ย 81.43 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มี่าเฉลี่ยต่ำสุด 77.05
กิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ไข่แปลงร่าง" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.14 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความรู้ประโยชน์ของไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 81.47 ส่วนความรู้ที่ไ้รับจากหัวข้อ ไข่แปลงร่าง คืออะไร มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 79.58
กิจกรรมที่ 2.3 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สลัดผัก/ผักโรล" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.30 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำสลัดผัก/ผักโรล มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมและความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.4 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ผักกร๊อบกรอบ" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.43 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อเมนูผักกร๊อบกรอบ คืออะไร และความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.5 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ซูชิแฟนซี" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.96 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม และความรู้ ขั้นตอนการทำซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ย 82.36 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.84
กิจกรรมที่ 2.6 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สมูทตี้ผัก-ผลไม้" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.85 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ ประโยชน์ของสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 83.16 รองลงมาคือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมและความรู้และขั้นตอนการทำสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ย 82.74 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพและเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเดือนละครั้ง ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด มีจำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรม พบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน (สนาม BBL) โดยนักเรียนและผู้ปกครอง ผลการดำเนินงาน โรงเรียนมีลานตัวหนอนเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 2 จุด คือ ถนนหน้าอาคารเรียน 1 และลานตัวหนอนหน้าอาคารเรียนอนุบาล โดยเด็กจะใช้ลานตัวหนอนในการเล่นออกกำลังกายในช่วงเวลาว่าง หรือตอนพักกลางวัน มาเล่นกิจกรรมการเรียนรู้บนลานตัวหนอนต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
4.2 กิจกรรมการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง โรงเรียนจัดตั้งชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพ มีชมรมวอลเลย์บอล ชมรมแบตมินตัน ชมรมฟุตบอล และชมรมฮูลาฮูป เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนหรือใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มาออกกำลังกายก่อนกลับบ้าน จัดเตรียมอุปกรณ์การออกกำลังกายให้กับนักเรียนทุกคนได้ใช้อย่างพอเพียง จากการดำเนินงานตามโครงการที่กล่าวมาแล้ว ส่งผลให้เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน รู้จักหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ถัย และสิ่งเสพติด การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเลื่อนไหวตามวัย
4.3 กิจกรรมเต้นแอโรบิคเพื่อออกกำลังกายในตอนเย็น เพื่อให้นักเรียน ประชาชน มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และเพื่อสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ผลการดำเนินการ ทางโรงเรียนเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นแอโรบิคแบบง่ายๆ เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง ในช่วงตอนเย็น ส่งผลให้เด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเคลื่อนไหวตามวัย
4.4 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ผลการดำเนินการเพื่อดูแลและแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้เรียนดูแลให้ผู้เรียนรักษาความสะอาดอนามัยส่วนตัว จัดกิจกรรมแปรงฟังหลังอาหารกลางวัน โดยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลละงู มาอบรมวิธีการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กวัยเรียน สอนวิธีการแปรงฟัน การตรวจฟันเพื่อรักษาและตรวจสุขภาพฟัน พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 83.80 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ วิธีการใช้สีย้อมฟัน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 90.00 รองลงมา คือความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ การสาธิตการแปรงฟันและฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธี มีค่าเฉลี่ย 84.14 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 81.61
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561– L8010 – 2 - 01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงเรียนบ้านปิใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ ”
โรงเรียนบ้านปิใหญ่ หมู่ที่ 5 ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านปิใหญ่
กันยายน 2561
ที่อยู่ โรงเรียนบ้านปิใหญ่ หมู่ที่ 5 ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561– L8010 – 2 - 01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านปิใหญ่ หมู่ที่ 5 ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจสุขภาพ ของโรงเรียนบ้านปิใหญ่ ปีการศึกษา 2561 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.)เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในกลุ่มเด็ก 5 -13 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.) เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัวในโรงเรียนบ้านปิใหญ่ มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้ 3.) เพื่อให้เด็ดที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม และดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ 4.) เพื่อส่งเสริม พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรักการออกกำลังกาย 5.) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและผู้ปกครองในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และสร้างความรัก ความสามัคคีในชุมชน
สรุปลผลการดำเนินโครงการ ซึ่งผลการดำเนินโครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ พบว่า มีค่าเฉลี่ยรวมทุกกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด
กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำเอกสารสมุบันทึกสุขภาพนักเรียน โดยจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน และทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม และมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามเรื่องภาวะทุพโภชนาการและการได้รับประทานอาหารของเด็กขณะอยู่ที่บ้าน และจัดทำคู่มือเมนูอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน แจกให้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 2 อบรม/ให้ความรู้
กิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่า คะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 81.04 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินรายข้อ พบว่า ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมและความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความสำคัญของอาหาร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.63 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน มีค่าเฉลี่ย 81.43 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มี่าเฉลี่ยต่ำสุด 77.05
กิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ไข่แปลงร่าง" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.14 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความรู้ประโยชน์ของไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 81.47 ส่วนความรู้ที่ไ้รับจากหัวข้อ ไข่แปลงร่าง คืออะไร มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 79.58
กิจกรรมที่ 2.3 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สลัดผัก/ผักโรล" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.30 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำสลัดผัก/ผักโรล มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมและความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.4 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ผักกร๊อบกรอบ" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.43 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อเมนูผักกร๊อบกรอบ คืออะไร และความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.5 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ซูชิแฟนซี" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.96 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม และความรู้ ขั้นตอนการทำซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ย 82.36 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.84
กิจกรรมที่ 2.6 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สมูทตี้ผัก-ผลไม้" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.85 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ ประโยชน์ของสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 83.16 รองลงมาคือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมและความรู้และขั้นตอนการทำสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ย 82.74 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพและเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเดือนละครั้ง ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด มีจำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรม พบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน (สนาม BBL) โดยนักเรียนและผู้ปกครอง ผลการดำเนินงาน โรงเรียนมีลานตัวหนอนเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 2 จุด คือ ถนนหน้าอาคารเรียน 1 และลานตัวหนอนหน้าอาคารเรียนอนุบาล โดยเด็กจะใช้ลานตัวหนอนในการเล่นออกกำลังกายในช่วงเวลาว่าง หรือตอนพักกลางวัน มาเล่นกิจกรรมการเรียนรู้บนลานตัวหนอนต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
4.2 กิจกรรมการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง โรงเรียนจัดตั้งชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพ มีชมรมวอลเลย์บอล ชมรมแบตมินตัน ชมรมฟุตบอล และชมรมฮูลาฮูป เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนหรือใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มาออกกำลังกายก่อนกลับบ้าน จัดเตรียมอุปกรณ์การออกกำลังกายให้กับนักเรียนทุกคนได้ใช้อย่างพอเพียง จากการดำเนินงานตามโครงการที่กล่าวมาแล้ว ส่งผลให้เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน รู้จักหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ถัย และสิ่งเสพติด การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเลื่อนไหวตามวัย
4.3 กิจกรรมเต้นแอโรบิคเพื่อออกกำลังกายในตอนเย็น เพื่อให้นักเรียน ประชาชน มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และเพื่อสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ผลการดำเนินการ ทางโรงเรียนเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นแอโรบิคแบบง่ายๆ เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง ในช่วงตอนเย็น ส่งผลให้เด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเคลื่อนไหวตามวัย
4.4 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ผลการดำเนินการเพื่อดูแลและแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้เรียนดูแลให้ผู้เรียนรักษาความสะอาดอนามัยส่วนตัว จัดกิจกรรมแปรงฟังหลังอาหารกลางวัน โดยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลละงู มาอบรมวิธีการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กวัยเรียน สอนวิธีการแปรงฟัน การตรวจฟันเพื่อรักษาและตรวจสุขภาพฟัน พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 83.80 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ วิธีการใช้สีย้อมฟัน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 90.00 รองลงมา คือความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ การสาธิตการแปรงฟันและฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธี มีค่าเฉลี่ย 84.14 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 81.61
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัย มีพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสมเช่นการไม่รับประทานผักผลไม้ เด็กเบื่ออาหารเด็กชอบกินขนมกรุบกรอบ เป็นต้นซึ่งปัญหาเหล่านี้จะส่งผลให้เกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกีฬา จะทำให้ร่างกายแข็งแรงจิตใจสดชื่น ดังคำกล่าวที่ว่า "จิตใจที่งดงามย่อมอยู่ในร่างกายแข็งแรง" แสดงว่าร่างกายกับจิตใจมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก ถ้าร่างกายแข็งแรงจิตใจก็จะเบิกบานหรือในทางกลับกัน ถ้ามีจิตใจเข้มแข็งจะเกิดพลังหรือกำลังใจ ทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้นซึ่งทางโรงเรียนบ้านปิใหญ่ได้จัดทำ “โครงการเด็กปิใหญ่สดใสใส่ใจรักษ์สุขภาพ”ซึ่งมีกิจกรรมการให้ความรู้ทางโภชนาการในเด็กวัยเรียนกิจกรรมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียนและบุคคลากรภายในโรงเรียนได้มีการออกกำลังกายและเล่นกีฬากัน เป็นการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจให้สมบูรณ์แข็งแรง ซึ่งจะส่งผลต่อพัฒนาการเด็กทั้งทางด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (Well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม ปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว สังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และเพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป ปัญหาในการดำเนินส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมาก จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 5-13 ปี พ.ศ.2560 พบว่า เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปิใหญ่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ พบว่า เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 15.45เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มีจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 13.82 , เด็กที่มีส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มีจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 8.94 รวมจำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวน47คนคิดเป็นร้อยละ38.52นอกจากนี้ยังมีเด็กที่ไม่กินผัก จำนวน 39 คนคิดเป็นร้อยละ 31.71 มีนักเรียนชั้นปฐมวัยและเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ไม่กินไข่จำนวน23คนคิดเป็นร้อยละ 18.70และเด็กที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปาก จำนวน 40คน คิดเป็นร้อยละ 32.79ซึ่งจากปัญหาเหล่านี้จะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมา จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต การแก้ไขปัญหาโดยการมีมุมส่งเสริมโภชนากการและพัฒนาการเด็กในสถานศึกษา และการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านปิใหญ่จึงได้จัดทำโครงการ“เด็กปิใหญ่สดใสใส่ใจรักษ์สุขภาพ” เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็กและติดตามเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์, เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยงส่งเสริมเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย เป็นการเพิ่มทักษะให้เด็กในการประกอบอาหาร ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ ทางด้านสติปัญญาด้วย สนาม BBL โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในกลุ่มเด็ก 5-13 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้
- เพื่อให้เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย
- เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย
- เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงปัญหาโรคฟันผุลดลง และลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้และสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก
- กิจกรรมติดตามเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์, เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยงโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง และแม่ครัว โรงเรียนบ้านปิใหญ่
- กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
- กิจกรรมที่ 2.2 เสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานกองทุนฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 122 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็ก 5-13 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการอย่างครอบคลุม
- ครู ผู้ปกครอง และแม่ครัวมีความรู้และเข้าใจเรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก
- เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามวัย
- เด็กมีภาวะโรคฟันผุลดลงและได้รับการรักษาที่ถูกวิธี
- เด็ก ครูผู้ปกครองมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้และลดปัญหาทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก |
||
วันที่ 22 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.1ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กอายุ 5- 12 ปี 1.2 บันทึกผลในสมุดทะเบียนเด็กและสมุดบันทึกสุขภาพเด็ก พร้อมแจ้งผู้ปกครองให้ทราบ 1.3 จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นรายเฉพาะ 1.4 จัดทำคู่มือเมนูอาหารแต่ละชนิด คุณประโยชน์ของอาหารแต่ละชนิดและโภชนาการสำหรับเด็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำเอกสารสมุบันทึกสุขภาพนักเรียน โดยจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน และทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม และมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามเรื่องภาวะทุพโภชนาการและการได้รับประทานอาหารของเด็กขณะอยู่ที่บ้าน และจัดทำคู่มือเมนูอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน แจกให้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
|
122 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง และแม่ครัว โรงเรียนบ้านปิใหญ่ |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้ เรื่อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่า คะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 81.04 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินรายข้อ พบว่า ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมและความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความสำคัญของอาหาร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.63 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน มีค่าเฉลี่ย 81.43 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มี่าเฉลี่ยต่ำสุด 77.05
|
95 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 2.2 เสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำสอน/สาธิต การทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย เป็นการเพิ่มทักษะให้เด็กในการประกอบอาหาร ได้แก่ 1.ไข่แปรงร่าง 2.สลัดผัก/ผักโรล 3.ผักกร๊อบกรอบ 4.ซูชิแฟนซี 5.สมู๊ทตี้ผัก-ผลไม้ โดยการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ปกครอง เด็ก สำหรับกลุ่มเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 2.2 เสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ไข่แปลงร่าง" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.14 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความรู้ประโยชน์ของไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 81.47 ส่วนความรู้ที่ไ้รับจากหัวข้อ ไข่แปลงร่าง คืออะไร มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 79.58 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สลัดผัก/ผักโรล" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.30 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำสลัดผัก/ผักโรล มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมและความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ผักกร๊อบกรอบ" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.43 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อเมนูผักกร๊อบกรอบ คืออะไร และความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ซูชิแฟนซี" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.96 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม และความรู้ ขั้นตอนการทำซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ย 82.36 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.84 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สมูทตี้ผัก-ผลไม้" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.85 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ ประโยชน์ของสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 83.16 รองลงมาคือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมและความรู้และขั้นตอนการทำสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ย 82.74 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
|
95 | 0 |
4. กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน
- หนอนน้อยนับเลข
- หนอนน้อยเรียนรู้เลข
- ตารางกระโดด 9 ช่อง
- ตารางอีฉุด
- ตารางเรียนรู้ภาษาไทย
- ตารางเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
4.2 ออกกำลังกายตามความสนใจ
- ครูและเด็กนักเรียนร่วมกันออกกำลังกายเพื่อสุขภาพทุกวัน เวลา 15.00-16.00 น. ตามชมรมต่างๆ ดังนี้
1. ชมรมวอลเล่ย์บอล
2. ชมรมแบตมินตัน
3. ชมรมฮูลาฮุป
4. ชมรมฟุตบอล
- แกนนำนักเรียนบันทึกผลการออกกำลังกายของแต่ละชมรม รายงานครูผู้รับผิดชอบ
- ครูผู้รับผิดชอบแต่ละชมรม ทดสอบสมรรถภาพร่างกายหรือประเมินความแข็งแรงของร่างกายของสมาชิกในชมรมทุก 3 เดือน
4.3เต้นแอโรบิกตอนเย็น
- รับสมัครสมาชิกการออกกำลังกานโดยการเต้นแอโรบิค
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคจำนวน 5 วันๆละ 2 ชั่วโมง
- ออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคทุกวัน โดยผู้ที่ผ่านการอบรมผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้นำในการเต้นแอโรบิค
- วัดความดันโลหิตและน้ำหนัก ส่วนสูง ก่อนดำเนินกิจกรรมและหลังดำเนินกิจกรรม อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อเปรียบเทียบภาวะสุขภาพของสมาชิก
- สมาชิกที่ร่วมออกกำลังกายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ผู้ดูแลระบบเรียกมาเพื่อให้คำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
4.4 ส่งเสริมทันตสุขภาพ
- คัดเลือกแกนนำนักเรียนหรือสารวัตรนักเรียน เพื่อทำหน้าที่ตรวจสุขภาพในช่องปากของนักเรียนเบื้องต้น รายงานครูผู้รับผิดชอบ
- อบรมให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพ สำหรับเด็กวัยเรียน หลักสูตร1 วัน
- รณรงค์ให้นักเรียนทุกคน แปรงฟันหลังอาหารทุกวัน
- บันทึกการแปรงฟันและตรวจสอบโดยแกนนำนักเรียน
- กรณีเจอนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากไม่รุนแรง ครูผู้ดูแลเชิญผู้ปกครองมาให้คำปรึกษา แนะนำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ 4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน (สนาม BBL) โดยนักเรียนและผู้ปกครอง ผลการดำเนินงาน โรงเรียนมีลานตัวหนอนเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 2 จุด คือ ถนนหน้าอาคารเรียน 1 และลานตัวหนอนหน้าอาคารเรียนอนุบาล โดยเด็กจะใช้ลานตัวหนอนในการเล่นออกกำลังกายในช่วงเวลาว่าง หรือตอนพักกลางวัน มาเล่นกิจกรรมการเรียนรู้บนลานตัวหนอนต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น 4.2 กิจกรรมการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง โรงเรียนจัดตั้งชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพ มีชมรมวอลเลย์บอล ชมรมแบตมินตัน ชมรมฟุตบอล และชมรมฮูลาฮูป เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนหรือใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มาออกกำลังกายก่อนกลับบ้าน จัดเตรียมอุปกรณ์การออกกำลังกายให้กับนักเรียนทุกคนได้ใช้อย่างพอเพียง จากการดำเนินงานตามโครงการที่กล่าวมาแล้ว ส่งผลให้เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน รู้จักหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ถัย และสิ่งเสพติด การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเลื่อนไหวตามวัย 4.3 กิจกรรมเต้นแอโรบิคเพื่อออกกำลังกายในตอนเย็น เพื่อให้นักเรียน ประชาชน มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และเพื่อสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ผลการดำเนินการ ทางโรงเรียนเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นแอโรบิคแบบง่ายๆ เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง ในช่วงตอนเย็น ส่งผลให้เด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเคลื่อนไหวตามวัย 4.4 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ผลการดำเนินการเพื่อดูแลและแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้เรียนดูแลให้ผู้เรียนรักษาความสะอาดอนามัยส่วนตัว จัดกิจกรรมแปรงฟังหลังอาหารกลางวัน โดยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลละงู มาอบรมวิธีการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กวัยเรียน สอนวิธีการแปรงฟัน การตรวจฟันเพื่อรักษาและตรวจสุขภาพฟัน พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 83.80 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ วิธีการใช้สีย้อมฟัน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 90.00 รองลงมา คือความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ การสาธิตการแปรงฟันและฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธี มีค่าเฉลี่ย 84.14 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 81.61
|
172 | 0 |
5. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานกองทุนฯ |
||
วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดทำรูปเล่มรายงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จัดทำรูปเล่มรายงาน
|
0 | 0 |
6. กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ |
||
วันที่ 6 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 เดือน พร้อมทั้งแนะนำผู้ปกครองให้ดำเนินการต่อเนื่อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพและเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเดือนละครั้ง ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด มีจำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรม พบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
|
47 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำเอกสารสมุบันทึกสุขภาพนักเรียน โดยจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน และทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม และมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามเรื่องภาวะทุพโภชนาการและการได้รับประทานอาหารของเด็กขณะอยู่ที่บ้าน และจัดทำคู่มือเมนูอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน แจกให้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร
กิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่า คะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 81.04 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินรายข้อ พบว่า ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมและความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความสำคัญของอาหาร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.63 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน มีค่าเฉลี่ย 81.43 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มี่าเฉลี่ยต่ำสุด 77.05
กิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ไข่แปลงร่าง" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.14 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความรู้ประโยชน์ของไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 81.47 ส่วนความรู้ที่ไ้รับจากหัวข้อ ไข่แปลงร่าง คืออะไร มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 79.58
กิจกรรมที่ 2.3 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สลัดผัก/ผักโรล" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.30 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำสลัดผัก/ผักโรล มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมและความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.4 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ผักกร๊อบกรอบ" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.43 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อเมนูผักกร๊อบกรอบ คืออะไร และความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.5 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ซูชิแฟนซี" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.96 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม และความรู้ ขั้นตอนการทำซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ย 82.36 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.84
กิจกรรมที่ 2.6 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สมูทตี้ผัก-ผลไม้" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.85 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ ประโยชน์ของสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 83.16 รองลงมาคือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมและความรู้และขั้นตอนการทำสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ย 82.74 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพและเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเดือนละครั้ง ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด มีจำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรม พบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน (สนาม BBL) โดยนักเรียนและผู้ปกครอง ผลการดำเนินงาน โรงเรียนมีลานตัวหนอนเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 2 จุด คือ ถนนหน้าอาคารเรียน 1 และลานตัวหนอนหน้าอาคารเรียนอนุบาล โดยเด็กจะใช้ลานตัวหนอนในการเล่นออกกำลังกายในช่วงเวลาว่าง หรือตอนพักกลางวัน มาเล่นกิจกรรมการเรียนรู้บนลานตัวหนอนต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
4.2 กิจกรรมการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง โรงเรียนจัดตั้งชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพ มีชมรมวอลเลย์บอล ชมรมแบตมินตัน ชมรมฟุตบอล และชมรมฮูลาฮูป เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนหรือใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มาออกกำลังกายก่อนกลับบ้าน จัดเตรียมอุปกรณ์การออกกำลังกายให้กับนักเรียนทุกคนได้ใช้อย่างพอเพียง จากการดำเนินงานตามโครงการที่กล่าวมาแล้ว ส่งผลให้เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน รู้จักหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ถัย และสิ่งเสพติด การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเลื่อนไหวตามวัย
4.3 กิจกรรมเต้นแอโรบิคเพื่อออกกำลังกายในตอนเย็น เพื่อให้นักเรียน ประชาชน มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และเพื่อสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ผลการดำเนินการ ทางโรงเรียนเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นแอโรบิคแบบง่ายๆ เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง ในช่วงตอนเย็น ส่งผลให้เด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเคลื่อนไหวตามวัย
4.4 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ผลการดำเนินการเพื่อดูแลและแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้เรียนดูแลให้ผู้เรียนรักษาความสะอาดอนามัยส่วนตัว จัดกิจกรรมแปรงฟังหลังอาหารกลางวัน โดยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลละงู มาอบรมวิธีการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กวัยเรียน สอนวิธีการแปรงฟัน การตรวจฟันเพื่อรักษาและตรวจสุขภาพฟัน พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 83.80 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ วิธีการใช้สีย้อมฟัน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 90.00 รองลงมา คือความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ การสาธิตการแปรงฟันและฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธี มีค่าเฉลี่ย 84.14 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 81.61
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในกลุ่มเด็ก 5-13 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 5-13 ปี |
100.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัวโรงเรียนบ้านปิใหญ่ มีความรู้เรื่องภาวะ โภชนาการในเด็ก 2. เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ไม่กินไข่ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80 3. เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ไม่กินผัก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80 |
80.00 | 82.63 |
|
|
3 | เพื่อให้เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์,เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ 2. เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 3. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 4. เด็กที่มีความสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไขร้อยละ 100 |
100.00 | 100.00 |
|
|
4 | เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น |
80.00 | 80.00 |
|
|
5 | เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมให้เด็กรักออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น |
80.00 | 80.00 |
|
|
6 | เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงปัญหาโรคฟันผุลดลง และลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้และสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง( ดูจากสถิติการเจ็บป่วยในรอบ 6 เดือน ) 2. เด็กนักเรียนร้อย 80 มีการออกกำลังหลังเลิกเรียนอย่างน้อย 30 นาที 3. เด็กนักเรียนร้อย 80 มีสมรรถภาพร่างกายเหมาะสมกับวัย 4. เด็กนักเรียนร้อยละ 80 รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและโรคฟันผุลดลง 5. เด็กที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100 |
80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 122 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 122 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจสุขภาพ ของโรงเรียนบ้านปิใหญ่ ปีการศึกษา 2561 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.)เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในกลุ่มเด็ก 5 -13 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ 2.) เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัวในโรงเรียนบ้านปิใหญ่ มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้ 3.) เพื่อให้เด็ดที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม และดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ 4.) เพื่อส่งเสริม พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรักการออกกำลังกาย 5.) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและผู้ปกครองในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และสร้างความรัก ความสามัคคีในชุมชน
สรุปลผลการดำเนินโครงการ ซึ่งผลการดำเนินโครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ พบว่า มีค่าเฉลี่ยรวมทุกกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด
กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำเอกสารสมุบันทึกสุขภาพนักเรียน โดยจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน และทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม และมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามเรื่องภาวะทุพโภชนาการและการได้รับประทานอาหารของเด็กขณะอยู่ที่บ้าน และจัดทำคู่มือเมนูอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน แจกให้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 2 อบรม/ให้ความรู้
กิจกรรมที่ 2.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 5-13 ปี แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัวและคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่า คะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 81.04 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินรายข้อ พบว่า ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรมและความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความสำคัญของอาหาร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.63 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียน มีค่าเฉลี่ย 81.43 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มี่าเฉลี่ยต่ำสุด 77.05
กิจกรรมที่ 2.2 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ไข่แปลงร่าง" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.14 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อความรู้ประโยชน์ของไข่แปลงร่าง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 81.47 ส่วนความรู้ที่ไ้รับจากหัวข้อ ไข่แปลงร่าง คืออะไร มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 79.58
กิจกรรมที่ 2.3 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สลัดผัก/ผักโรล" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.30 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำสลัดผัก/ผักโรล มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.32 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมและความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.4 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ผักกร๊อบกรอบ" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.43 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้และขั้นตอนการทำผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อเมนูผักกร๊อบกรอบ คืออะไร และความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของผักกร๊อบกรอบ มีค่าเฉลี่ย 81.68 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 2.5 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "ซูชิแฟนซี" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.96 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม และความรู้ ขั้นตอนการทำซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 82.74 รองลงมาคือ ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อประโยชน์ของซูชิแฟนซี มีค่าเฉลี่ย 82.36 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.84
กิจกรรมที่ 2.6 กิจกรรมสอน/สาธิตการทำอาหารเมนูเพื่อสุขภาพสำหรับหนูน้อย "สมูทตี้ผัก-ผลไม้" พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 81.85 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ ประโยชน์ของสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 83.16 รองลงมาคือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมและความรู้และขั้นตอนการทำสมูทตี้ผัก-ผลไม้ มีค่าเฉลี่ย 82.74 ส่วนความเหมาะสมของอาหารว่างและเครื่องดื่ม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 80.63
กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอมโดยภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพและเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและจัดให้มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเดือนละครั้ง ผลการติดตามพบว่า ก่อนดำเนินกิจกรรมนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทั้งหมด มีจำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 38.52 หลังดำเนินกิจกรรม พบว่า นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 25.21
กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ
4.1 สร้างลานตัวหนอนเพื่อการเรียนรู้ บริเวณ ถนนหน้าอาคารเรียน (สนาม BBL) โดยนักเรียนและผู้ปกครอง ผลการดำเนินงาน โรงเรียนมีลานตัวหนอนเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 2 จุด คือ ถนนหน้าอาคารเรียน 1 และลานตัวหนอนหน้าอาคารเรียนอนุบาล โดยเด็กจะใช้ลานตัวหนอนในการเล่นออกกำลังกายในช่วงเวลาว่าง หรือตอนพักกลางวัน มาเล่นกิจกรรมการเรียนรู้บนลานตัวหนอนต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
4.2 กิจกรรมการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง โรงเรียนจัดตั้งชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพ มีชมรมวอลเลย์บอล ชมรมแบตมินตัน ชมรมฟุตบอล และชมรมฮูลาฮูป เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาหลังเลิกเรียนหรือใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มาออกกำลังกายก่อนกลับบ้าน จัดเตรียมอุปกรณ์การออกกำลังกายให้กับนักเรียนทุกคนได้ใช้อย่างพอเพียง จากการดำเนินงานตามโครงการที่กล่าวมาแล้ว ส่งผลให้เด็กและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน รู้จักหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ถัย และสิ่งเสพติด การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเลื่อนไหวตามวัย
4.3 กิจกรรมเต้นแอโรบิคเพื่อออกกำลังกายในตอนเย็น เพื่อให้นักเรียน ประชาชน มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ และเพื่อสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน ผลการดำเนินการ ทางโรงเรียนเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นแอโรบิคแบบง่ายๆ เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง ในช่วงตอนเย็น ส่งผลให้เด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามวัย ลดปัญหาทุพโภชนาการ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง การได้ออกกำลังกายบ่อยๆ ส่งผลให้เด็กมีทักษะในการเคลื่อนไหวตามวัย
4.4 กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ ผลการดำเนินการเพื่อดูแลและแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้เรียนดูแลให้ผู้เรียนรักษาความสะอาดอนามัยส่วนตัว จัดกิจกรรมแปรงฟังหลังอาหารกลางวัน โดยการประสานงานกับเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลละงู มาอบรมวิธีการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กวัยเรียน สอนวิธีการแปรงฟัน การตรวจฟันเพื่อรักษาและตรวจสุขภาพฟัน พบว่าคะแนนความพึงพอใจในกิจกรรมมีค่าเฉลี่ย 83.80 เมื่อพิจารณารายละเอียดของแบบประเมินความพึงพอใจรายข้อ พบว่า ความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ วิธีการใช้สีย้อมฟัน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 90.00 รองลงมา คือความรู้ที่ได้รับจากหัวข้อ การสาธิตการแปรงฟันและฝึกการแปรงฟันที่ถูกวิธี มีค่าเฉลี่ย 84.14 ส่วนสถานที่ในการจัดกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 81.61
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กปิใหญ่สดใส ใส่ใจรักสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2561– L8010 – 2 - 01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงเรียนบ้านปิใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......