กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการสร้างเครือข่ายพลังมุสลีมะห์ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ปี 2561 ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวนิดา สนิ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเครือข่ายพลังมุสลีมะห์ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8423-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเครือข่ายพลังมุสลีมะห์ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเครือข่ายพลังมุสลีมะห์ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเครือข่ายพลังมุสลีมะห์ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8423-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ชายแดนสามจังหวัดภาคใต้ กับความละเอียดอ่อนของชนมุสลิม หลักปฏิบัติที่เคร่งครัดในบริบทที่ผู้คนและชุมชนนับถือศาสนาอิสลามทั้งหมด บนการศรัทธาที่เชื่อมั่นในพระเจ้าและศาสนทูต ที่มีอัลกุรอานและอัลฮาดีษเป็นทางนำของมนุษย์ความท้าทายอย่างหนึ่งในบทบาทของระบบบริการสาธารณสุข คือการปรับระบบการบริการให้เป็นระบบที่รักษา “คน” ไม่ใช่รักษา “โรค” เป็นระบบสุขภาพที่มี “ความเป็นมนุษย์” (humanized health care) ความละเอียดอ่อนในจารีตปฏิบัติของชนมุสลิม หากเริ่มต้นจากความไม่เข้าใจ เริ่มต้นจากการเพิกเฉยการคลี่คลายความรู้ที่ถูกต้องก็จะเกิดปรากฏการณ์การหลีกเลี่ยงที่จะใช้บริการสุขภาพจากหน่วยงานรัฐ ทำให้ประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลามโดยเฉพาะสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีปัญหาทางด้านสุขภาพสูงกว่าพื้นที่อื่นๆ การให้บริการด้วยใจ การคลี่คลายปมข้อสงสัย การบริบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ทำให้ประชาชนรู้สึกสบายใจเมื่อต้องมารับบริการจากโรงพยาบาล เพราะเมื่อเขาเดินเข้ามารับบริการก็มั่นใจได้ว่า จะถูกต้อนรับทั้งความเข้าใจวิถีมุสลิมที่ละเอียดอ่อนและให้เกียรติในฐานะเป็นมุสลิมชน ลดความขัดแย้งและความรู้สึกแปลกหน้าต่อกัน โดยเฉพาะโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่มีความใกล้ชิดแน่นแฟ้นทางภูมิหลังที่ขึ้นชื่อและกล่าวขานนามหมออนามัยที่ชาวบ้านนับถือจึงได้ชื่อว่าเป็นพื้นที่ดูแล เยียวยาด้วยหัวใจอย่างแท้จริงการวิเคราะห์แบบองค์รวม (holistic Approach) ผ่านวิถีมุสลิมจะช่วยให้ “เข้าใจ เข้าถึง” วิถีวัฒนธรรมซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพและจัดบริการที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตมุสลิม การเข้าใจบทบาทหน้าที่ในฐานะมุสลิม(Function) ที่พึงปฏิบัติต่อพระผู้เป็นเจ้า เป็นสิ่งที่ผู้ให้การรักษาพยาบาลต้องเข้าใจว่า “ผู้ป่วย” มุสลิมมีภารกิจที่สำคัญในการเป็น “มุสลิมที่ดี”การปรับระบบบริการที่สอดคล้องกับวิถีมุสลิมจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งยวด เช่น การบูรณาการหลักอิสลามในการส่งเสริมสุขภาพไม่ว่าจะเป็นคุตบะห์หรือการให้ความรู้ต่างๆการให้บริการที่มุ่งเอาแนวทางของศาสนามาใช้ในงานอนามัยแม่และเด็ก การสอนดูอาอ์ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะทำให้ผู้ให้บริการสามารถที่จะเข้าใจโครงสร้างของสังคมมุสลิมเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้ให้สุขศึกษาผ่านผู้นำศาสนาหรือโต๊อีหม่ามหากโต๊อีหม่ามเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน จะช่วยให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่น ในเงื่อนไขหลักที่ทุกคนกังวลคือ การรักษาพยาบาลจะขัดต่อหลักศาสนาหรือไม่?เรื่องที่ละเอียดอ่อนไปมากกว่านั้นก็คือ การเข้าใจความคาดหวัง (Expectation) ความคาดหวังสูงสุดของมุสลิมคือการได้รับความโปรดปรานจากอัลลอฮ์(ซ.บ.) ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า (โลกอาคีเราะฮ์) ความโปรดปรานในโลกนี้คือการได้มีชิวตอยู่ตามแนวทางของอัลเลาะฮ์ (ซ.บ.) ซึ่งจะส่งผลต่อการได้เข้าสรวงสวรรค์ในโลกหน้า เมื่อมีการเจ็บป่วยในมโนทัศน์ของมุสลิมก็คือการได้รับการบริบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ และสอดคล้องต่อศาสนกิจ วิถีที่ไม่ขัดต่อแนวทางของอัลเลาะฮ์ ตั้งแต่ปี 2556 ถึงปัจจุบัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเกได้มีความพยายามอย่างมากในการที่จะน้อมนำหลักการอิสลามมาใช้ในการปรับรูปแบบการให้บริการที่สอดคล้องกับบริบทของสังคมมุสลิมที่มีความละเอียดอ่อนด้านจิตวิญญาณเป็นอย่างมากไม่ว่าจะเป็นการจัดทำคุตบะห์ส่งเสริมสุขภาพ การแทรกกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ของหญิงตั้งครรภ์ด้วยคำสอนอิสลาม และการสอนดูอาอ์ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ได้รับการตอบรับจากผู้รับบริการเป็นอย่างดี แต่สิ่งที่เราเห็นและเป็นสิ่งที่เหนือกว่าก็คือ การทำให้ชุมชนเข้าใจนิยามการเจ็บป่วยมากขึ้น เพราะศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่สมบูรณ์แบบที่มีกล่าวถึงทุกเรื่องราวของการดำเนินชีวิตการเจ็บป่วยก็คือหนึ่งในนั้น การน้อมนำหลักการอิสลามมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพจึงทำให้ชุมชนเข้าใจการเจ็บป่วย และอยากจะแสวงหาการมีสุขภาพที่ดี เพราะมันคือหนทางที่จะนำไปสู่การเคารพภัคดีต่อพระเจ้าที่สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น ตลอดจนในแนวทางการขับเคลื่อนสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวิถีมุสลิมนั้นมุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาร่วมกัน ชุมชนร่วมกันเป็นเจ้าของ มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนทุกๆกิจกรรม ที่จะนำมาซึ่งความต่อเนื่อง มั่นคง ยั่งยืน เช่นเครือข่ายการทำงานที่เป็นพลังหญิง ในชื่อพลังมุสลีมะห์ส่งเสริมสุขภาพก็คือหนึ่งเครือข่ายสำคัญที่พยายามผลักดันให้เกิดขึ้น มีความเข้มแข็งในการร่วมเคียงบ่าเคียงไหล่การพัฒนพื้นที่ต่อไป ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของโครงการสร้างเครือข่ายพลังมุสลีมะห์ส่งเสริมสุขภาพ ปี 2561 เพื่อสร้างเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน เกิดการมีส่วนร่วม และพลังการพัฒนาร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพมุสลีมะห์ (สตรี)ในพื้นที่ให้มีองค์ความรู้ด้านสุขภาพ สามารถเป็นผู้นำในการ ส่งเสริมสุขภาพของคนในพื้นที่ได้
  2. เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดำเนินงานของกลุ่มมุสลีมะห์(สตรี) ขับเคลื่อนการพัฒนาสุขภาพชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายมุสลีมะห์
  2. อบรมมุสลีมะห์ในพื้นที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1. มีเครือข่ายการดำเนินงานที่เข้มแข็ง มั่นคงและยั่งยืน
2. ชุมชนสามารถจัดการสุขภาพของตนเองได้ผ่านกลไกของการพัฒนามัสยิดซึ่งเป็นศูนย์รวมของชุมชนในแง่ศาสนา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพมุสลีมะห์ (สตรี)ในพื้นที่ให้มีองค์ความรู้ด้านสุขภาพ สามารถเป็นผู้นำในการ ส่งเสริมสุขภาพของคนในพื้นที่ได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดำเนินงานของกลุ่มมุสลีมะห์(สตรี) ขับเคลื่อนการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)  เพื่อพัฒนาศักยภาพมุสลีมะห์ (สตรี)ในพื้นที่ให้มีองค์ความรู้ด้านสุขภาพ สามารถเป็นผู้นำในการ        ส่งเสริมสุขภาพของคนในพื้นที่ได้  (2) เพื่อให้เกิดเครือข่ายการดำเนินงานของกลุ่มมุสลีมะห์(สตรี) ขับเคลื่อนการพัฒนาสุขภาพชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายมุสลีมะห์ (2) อบรมมุสลีมะห์ในพื้นที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเครือข่ายพลังมุสลีมะห์ส่งเสริมสุขภาพชุมชน ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8423-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวนิดา สนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด