กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสาหร่าย


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยวิถีคนเกาะ ในชุมชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเกาะสาหร่าย ”

ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสะอีด๊ะ สาดล

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยวิถีคนเกาะ ในชุมชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเกาะสาหร่าย

ที่อยู่ ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5299-02-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 เมษายน 2561 ถึง 28 เมษายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยวิถีคนเกาะ ในชุมชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเกาะสาหร่าย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสาหร่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยวิถีคนเกาะ ในชุมชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเกาะสาหร่าย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยวิถีคนเกาะ ในชุมชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเกาะสาหร่าย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5299-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 เมษายน 2561 - 28 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสาหร่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไทสุขภาพวิถีไท ใช้กำหนดทิศทางการดำเนินการเพื่อพัฒนา ภูมิปัญญาไทย สุขภาพวิถีไท อันครอบคลุมทั้งบริบทการ การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก ดังนั้นทุกภาคส่วนในสังคมไทยจึงมีหน้าที่ที่จะต้องส่งเสริม สนับสนุน และเร่งรัดการพัฒนาหมอพื้นบ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ให้เกิดผลอย่างจริงจัง เพื่อเป็นทางเลือกด้านสุขภาพของประชาชน รวมไปถึงสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจทั้งระดับชุมชน และระดับชาติต่อไป และเพื่อให้เป็นการสนองนโยบาย ให้เกิดประโยชน์กับประชาชนเพื่อการดูแลสุขภาพ รัฐบาลมุ่งเน้น ในการปรับปรุงระบบบริการสาธารณสุข ระบบวิถีการดำเนินชีวิตตามธรรมชาติตามพื้นที่ ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งเกาะสาหร่ายเป็นแหล่งท่องเที่ยว ประชาชนในฐานะเจ้าบ้านต้องเป็นผู้ให้บริการที่ดี ไม่ว่าจะเป็นการแนะนำแหล่งท่องเที่ยว การแนะนำอาหาร การพูดจาที่ไพเราะเพื่อผลประโยชน์ให้ชาวบ้านบนเกาะทุกกลุ่มทุกวัยซึ่งล้นแต่มีผลทำให้ มีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกาย ทางใจรู้จักคุณค่าทรัพยากรที่มีอยู่ ในพื้นที่เพื่อช่วยกันดูแลรักษาทรัพยากร และสุขภาพในชุมชนให้เป็นผู้นำด้านสุขภาพในท้องถิ่น จากนโยบายดังกล่าว ในส่วนของพื้นที่ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองจังหวัดสตูลนั้น พบว่าประชาชนประกอบอาชีพประมง จำนวนมากการรับประทานอาหารส่วนใหญ่เป็นอาหารทะเลเพราะหาได้ง่าย ซึ่งทำให้เกิดการสะสมของไขมันได้ง่ายทำให้เกิดโรคต่างๆ ทั้งๆที่บนเกาะสาหร่ายมีทรัพยากรพื้นบ้านมากมาย โดยเฉพาะผักพื้นบ้าน ผักในสวน ผักบนเกาะในทะเล และพื้นที่บนเกาะเป็นพื้นที่ที่อากาศดี บริเวณพื้นที่รอบเกาะเหมาะในการออกกำลังกายด้วยวิถีคนเกาะเพื่อให้ประชาชนรู้จักผักในถิ่นบนเกาะ รู้จักเลือกรับประทานอาหาร รู้จักออกกำลังกาย รู้จักการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบ ชมรมอาสมัครสาธารณสุขตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูลจึงได้จัดทำโครงการ โครงการสร้าง เสริมสุขภาพดีด้วยระบบวิถีคนเกาะขึ้นเพื่อตอบสนองสุขภาพประชาชนให้ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ด้วยการแพทย์แผนไทยและปราชญ์ชาวบ้าน การแพทย์ทางเลือก เพื่อให้เกิดเครือข่ายสุขภาพครอบคลุมในชุมชน สอดคล้องตามนโยบาย ที่ว่าด้วยการยกระดับวิถีชีวิตให้ดีขึ้น รวมถึงการพัฒนาบทบาท ประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและเครือข่ายให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น
  2. เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มเข้าใจบทบาทเป็นผู้ให้บริการ การเป็นเจ้าบ้านที่ดี และที่เข้าถึงทรัพยากรในท้องถิ่นเห็นคุณค่า และช่วยกันอนุรักษ์ และได้รับการดูแลสุขภาพด้วยวิถีท้องถิ่นบนเกาะ
  3. เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย การเข้ารับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเป็นระบบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สอนทฤษฎีการออกกำลังกายและสอนทฤษฎีการดูแลสุขภาพและการเข้ารับบริการดูแลสุขภาพของ รพ.สต. อย่างเป็นระบบ
  2. สอนทฤษฎีการดูแลสุขภาพและทฤษฎีผักพื้นบ้าน ผักในป่า และทรัพยากรบนเกาะ
  3. ฝึกปฏิบัติลงพื้นที่เดินแนะนำทรัพยากรผักพื้นบ้าน ผักในป่า
  4. ฝึกปฏิบัติการนวด
  5. ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ ประชาชนเข้าเข้าใจหลักของการออกกำลังกาย รู้จักทรัพยากรธรรมชาติบนท้องถิ่นที่นำมาทำอาหาร
๒ ประชาชนเข้าถึงการได้รับบริการสุขภาพด้วยภูมิปัญญา และได้รับการช่วยเหลือส่งเสริมป้องกันสุขภาพอย่างเป็นระบบ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สอนทฤษฎีการออกกำลังกายและสอนทฤษฎีการดูแลสุขภาพและการเข้ารับบริการดูแลสุขภาพของ รพ.สต. อย่างเป็นระบบ

วันที่ 24 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้ทฤษฎีการออกกำลังกาย
  2. อบรมให้ความรู้ทฤษฎีการดูแลสุขภาพ
  3. อบรมให้ความรู้การเข้ารับบริการดูแลสุขภาพของ รพ.สต.อย่างเป็นระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรม 72 คน ผลลัพธ์ : ได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

60 0

2. สอนทฤษฎีการดูแลสุขภาพและทฤษฎีผักพื้นบ้าน ผักในป่า และทรัพยากรบนเกาะ

วันที่ 25 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพและทฤษฎีผักพื้นบ้าน ผักในป่า และทรัพยากรบนเกาะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรม 72 คน ผลลัพธ์ : ได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

60 0

3. ฝึกปฏิบัติลงพื้นที่เดินแนะนำทรัพยากรผักพื้นบ้าน ผักในป่า

วันที่ 26 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ฝึกปฏิบัติลงพื้นที่เดินแนะนำทรัพยากรผักพื้นบ้าน ผักในป่า สมุนไพรบนเกาะที่นำมาประกอบอาหาร 2.ฝึกปฏิบัติลงพื้นที่เดินแนะนำทรัพยากรริมหาด และทรัพยากรบางชนิดที่นำเป็นยาสมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรม 72 คน ผลลัพธ์ : ได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

60 0

4. ฝึกปฏิบัติการนวด

วันที่ 27 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ฝึกปฏิบัติการนวดแก้อาการปวดขา 2.ฝึกปฏิบัติการนวดแก้อาการปวดบ่า 3.ฝึกปฏิบัติการนวดแก้อาการปวดศีรษะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรม 72 คน ผลลัพธ์ : ได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

60 0

5. ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย

วันที่ 28 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ทบทวนทฤษฎีและฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรม 72 คน ผลลัพธ์ : ได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ด้วยการแพทย์แผนไทยและปราชญ์ชาวบ้าน การแพทย์ทางเลือก เพื่อให้เกิดเครือข่ายสุขภาพครอบคลุมในชุมชน สอดคล้องตามนโยบาย ที่ว่าด้วยการยกระดับวิถีชีวิตให้ดีขึ้น รวมถึงการพัฒนาบทบาท ประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและเครือข่ายให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนปฏิบัติออกกำลังกายด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับวัย นำทรัพยากรธรรมชาติที่มีประโยชน์บนท้องถิ่นมาประกอบทำอาหาร
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มเข้าใจบทบาทเป็นผู้ให้บริการ การเป็นเจ้าบ้านที่ดี และที่เข้าถึงทรัพยากรในท้องถิ่นเห็นคุณค่า และช่วยกันอนุรักษ์ และได้รับการดูแลสุขภาพด้วยวิถีท้องถิ่นบนเกาะ
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าถึงระบบการได้รับบริการสุขภาพด้วยภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้าน ในการ ส่งเสริมป้องกันสุขภาพ
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย การเข้ารับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ด้วยการแพทย์แผนไทยและปราชญ์ชาวบ้าน การแพทย์ทางเลือก เพื่อให้เกิดเครือข่ายสุขภาพครอบคลุมในชุมชน สอดคล้องตามนโยบาย  ที่ว่าด้วยการยกระดับวิถีชีวิตให้ดีขึ้น รวมถึงการพัฒนาบทบาท ประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและเครือข่ายให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น (2) เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มเข้าใจบทบาทเป็นผู้ให้บริการ การเป็นเจ้าบ้านที่ดี และที่เข้าถึงทรัพยากรในท้องถิ่นเห็นคุณค่า และช่วยกันอนุรักษ์ และได้รับการดูแลสุขภาพด้วยวิถีท้องถิ่นบนเกาะ (3) เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย การเข้ารับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเป็นระบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สอนทฤษฎีการออกกำลังกายและสอนทฤษฎีการดูแลสุขภาพและการเข้ารับบริการดูแลสุขภาพของ รพ.สต. อย่างเป็นระบบ (2) สอนทฤษฎีการดูแลสุขภาพและทฤษฎีผักพื้นบ้าน ผักในป่า และทรัพยากรบนเกาะ (3) ฝึกปฏิบัติลงพื้นที่เดินแนะนำทรัพยากรผักพื้นบ้าน ผักในป่า (4) ฝึกปฏิบัติการนวด (5) ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพดีด้วยวิถีคนเกาะ ในชุมชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเกาะสาหร่าย จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5299-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสะอีด๊ะ สาดล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด